การศึกษาทักษะการตอบคำถามระดับสูงด้านพุทธิพิสัยของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
Main Article Content
บทคัดย่อ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จารุณี ศรีเผือก. “การเปรียบเทียบพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่มีระดับความฉลาดทางอารมณ์ต่างกัน หลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบภาพด้วยการตอบคำถามและด้วยการแสดงบทบาทสมมติ”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, ๒๕๕๔.
จุฑาทิพย์ เอี่ยมปิยะกุล. “การศึกษาการใช้คำถามในการเรียนการสอนของครูศิลปะระดับประถมศึกษา โรงเรียนสาธิต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
ญาณากร สุทัสนมาลี และ สุเนตร สืบค้า. “รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การสอนโดยการกระตุ้นให้นักศึกษาตั้งคำถาม”. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ๒๕๕๒.
ทยิดา เลิศชนะ. “การใช้คำถามกับการสอนภาษาไทย”. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๐) : ๒๐-๒๓.
ทิศนา แขมมณี. “ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ”. พิมพ์ครั้งที่ ๒๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๖๑.
ประสาท เนืองเฉลิม และฤทธิไกร ไชยงาม. “การตั้งคำถามตามการจำแนกความมุ่งหมายทางการศึกษา”. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๑) : ๘-๑๒.
พันธุ์ธัช ศรีทิพันธุ์. “การใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัย โดยใช้รูปแบบฟาเซ็ท กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ สำหรับครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, ๒๕๕๕.
พรศิริ สันทัดรบ. “ผลของการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณและความคงทนในการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓”. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๔๔ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๑) : ๑๔๔-๑๕๙.
วรินทร ลองจำนงค์. “การศึกษาความสามารถในการตั้งคำถามและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โดยการสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, ๒๕๕๓.
วันทา สุขโสม. “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอ่านจับใจความโดยการใช้คำถามตามแนวคิดของบลูม (Bloom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖”. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ๒๕๕๑.
วิภาวดี นวลพัด. “การศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดพุทธิพิสัยของบลูม”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๕๕.
สุพลา ทองแป้น. “ผลการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามที่มีต่อความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕”. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยทักษิณ, ๒๕๕๒.
อภิญญา ทหราวานิช. “การศึกษาการลดปัญหาการไม่ตอบคำถามอาจารย์ผู้สอนในชั้นเรียน วิชาการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน โดยการสร้างความมั่นใจในตนเองให้กับผู้เรียน”. คณะวิทยาการจัดการ. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๒.