การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การท่องเที่ยวในปัจจุบัน มีรูปแบบที่ถูกสร้างขึ้นมาอย่างหลากหลาย และหนึ่งในรูปแบบที่มีความน่าสนใจ คือ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จึงต้องการนำเสนอถึงความหมายของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม องค์ประกอบในการสร้างหรือการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีความละเอียดอ่อนลึกซึ้งและแตกต่าง เป็นจุดเด่นที่สำคัญที่ทำให้การท่องเที่ยวรูปแบบนี้เป็นที่นิยม อีกทั้งในบทความวิชาการนี้ได้มีการนำเสนอมุมมองที่แสดงถึงความสำคัญและแนวทางของการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาประเทศทั้งในเชิงสังคมและเศรษฐกิจ โดยในมุมมองเชิงเศรษฐกิจจากมิติทางการพัฒนาท่องเที่ยว มองว่าการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนั้น นับเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดขายเฉพาะในการสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศ และนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภาค ในขณะเดียวกันยังเป็นกลไกและเครื่องมือสำคัญในการรักษาสืบทอดวัฒนธรรมของท้องถิ่นและประเทศให้คงอยู่อย่างทรงคุณค่ารวมทั้งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้ความสมดุลแห่งการพัฒนาที่ควบคู่ในอนาคตได้ และท้ายสุดได้ทำการยกตัวอย่างของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เป็นประจักษณ์ตามประเภทของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
Executive Journal. ม.ป.ท.:ม.ป.พ.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป). หมู่บ้านประมงน้ำจืด. สืบค้นจาก
https://thai.tourismthailand.org/สถานที่ท่องเที่ยว/หมู่บ้านประมงน้ําจืด--3599
กรุงเทพธุรกิจ. (กันยายน 2561). ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมย่านนางเลิ้ง. สืบค้นจาก
http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/48368
คม ชัด ลึก. (ธันวาคม 2560). ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภาคเหนือ รายได้เพิ่ม10%ต่อปี. สืบค้นจาก
http://www.komchadluek.net/news/edu-health/307168
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพ: สํานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
เจนจิรา ชูทอง. (ม.ป.ป.). ตลาดริมน้ําคลองแดน. สืบค้นจาก
http://www.museumthailand.com/th/2549/storytelling/ตลาดริมน้ําคลองแดน/
นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารมนุษยศาสตร์. ม.ป.ท.:ม.ป.พ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และเพ็ญศิริ ศรีคําภา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. นนทบุรี: ธรรมสาร.
รูปแบบการท่องเที่ยว. (ม.ป.ป). สืบค้นจาก https://tourismatbuu.wordpress.com.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (เมษายน 2561). ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคึกคัก. สืบค้นจาก
https://kasikornbank.com/th/personal/the-wisdom/articles/Pages/Thailand-Travel_Apr2018.aspx
สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2555-2560). สํารวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย. สืบค้นจาก
http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/สํารวจ/ด้านเศรษฐกิจ/สาขาการท่องเที่ยวและกิฬา/พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย.aspx
haveaniceday. (พฤษภาคม 2561). ท่องเที่ยวแหล่งประวัติศาสตร์ถนนสายวัฒนธรรม ชุมชนท่ามะโอจังหวัด ลําปาง. สืบค้นจากhttps://blog.chillpainai.com/post/1353