การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นการท่องเที่ยวที่มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง ที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งจุดหมายปลายทางเหล่านี้เป็นพื้นที่ควบคุมทั้งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและไม่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย และอยู่ภายใต้การปกป้องทางสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศ ระดับนานาประเทศ โดยการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะสร้างผลกระทบทางลบให้เกิดขึ้นกับทรัพยากรทางการท่องเที่ยวให้น้อยที่สุด เนื่องจากกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นการสร้างความรู้ด้านการอนุรักษ์และการกระตุ้นความรับผิดชอบของนักท่องเที่ยวให้มีต่อแหล่งท่องเที่ยวทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งชุมชน ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว (อุดม เชยกีวงศ์. 2548: 81-82)
Article Details
ลิขสิทธิ์ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห้ามผู้ใดนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต นอกจากนี้ เนื้อหาที่ปรากฎในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
ธัญชนก บุญเจือและคณะ. (2558). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนบริเวณเขื่อนใน ประเทศไทย กรณีศึกษา:เขื่อนรัชชประภา อุทยานแห่งชาติเขาสก
จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต:กรุงเทพมหานคร.
บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2534). อุทยานแห่งชาติของไทย. กรุงเทพมหานคร:
บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.
ประชิต สกุณะพัฒน์, วิมล จิโรจพันธุ์ และอุดม เชยกีวงศ์. (2554). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แสงดาว.
ปรัชญาพร พัฒนผล (2554). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมแม่น้ำเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์.
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก http://digi.library.tu.ac.th/thesis/it/1037/title-biography.pdf
พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์ (2553). การท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพมหานคร. โอเดียนสโตร์.
รวิวงศ์ ศรีทองรุ่ง. (2556). ยุทธศาสตร์การสร้างตัวแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในกล่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์
และศิลปะ. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2553). สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/view/7181.
ไพริน เวชธัญญะกุลและคณะ. (2558). แนวทางการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณในเขื่อน
ประเทศไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต:กรุงเทพมหานคร.
วีรศักดิ์ โค้วสุรัตน์ (2562). ปี 61 ไทยกวาดรายได้ท่องเที่ยวติดเบอร์ 4 โลก. สืบค้นจากhttps://voicetv.co.th/read/B3S3lm0of.
สฤษฏ์ แสงอรัญ. (2558). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ: การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์หรือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรมอุทยาน สัตว์ป่าและพรรณพืช.สืบค้นจาก
http://www.dnp.go.th/parkreserve/Np/Html/Tour/EcoTour.html.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2557). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11 ปี พ.ศ.2555- 2559. สืบค้นจาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395 สำนักงานบัญชีประชาชาติ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558).
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ไตรมาสที่ 1/ 2558. สืบค้นจาก : http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/qgdp/data1_15/BookQGDP1-2015-Thai.pdf.
Asean tourism. (2015). Community Based Tourism in ASEAN Region. Available from:
http://www.aseantourism.travel/blog/detail/community-based-tourism-in-asean-region.
CBD (2006). Convention on Biological Diversity. Available from : http://www.cbd.int/convention/articles.shtml?a=cbd-02
Chuck Y. Gee. (1997). International Tourism: A Global Perspective. Madrid : World Tourism Organization.
Collins, C. (1999). New Student’s Dictionary. London : The Cobuild series Available from the Bank of English.
Douglas, N., Douglas, Ng., and Derrett, R. (2001). Special Interest Tourism. Queenland : John Wiley and Sons Australia, Ltd.
Filion, F.L., Foley, J.P., and Jacquemont, A.J. (1994). The economics of global ecotourism. In M. Munasinghe & J. McNeely (Eds.), Protected area
economics and policy, linking conservation and sustainable development. Washington, DC. World Bank: 235-252.
Honey, M. (2008). Ecotourism and sustainable development. Island Press. Washington.
Motavalli, J. (2002). “Taking the Natural Path”. The Environment Magazine.
13 (4, July/ August): 26-36.
Pearson, M., & Sullivan S. (2001). Looking After Heritage Places: The basics of heritage planning of managers, landowners and administrators.
Victoria: Melbourne University Press.
Proven, D. (2004). The Assiniboine: Developing a sustainable river experience in
Manitoba. Available from : http://proquest.umi.com./pqdweb?did=994225561&sid=2&Fmt=2&clientId=43090&RQT=309&VName=PQD
Travelers’ Choice. (2015). Travelers' Choice™ Islands 2015. Available from : http://www.tripadvisor.com/TravelersChoice-Islands
UNESCO. (2006). The UNESCO-LNTA Nam Ha Ecotourism Project. Available from:
http://www.unescobkk.org/culture/wh/namha-ecotourism-project/
WHC-UNESCO. (2009). World Heritage Convention. Available from : http://whc.unesco.org.en/conventiontext/
World Tourism Organization. (1993). Sustainable tourism development: Guide for
local planners. Madrid: World Tourism Organization.