การพัฒนาสู่ความทันสมัยกับโมเดลการพัฒนาแบบจีน

Main Article Content

มุกรวี ฉิมพะเนาว์

บทคัดย่อ

              บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยในแบบโลกตะวันออกที่นาทฤษฎีการพัฒนาในแบบตะวันตกมาปรับให้เข้ากับบริบทและสภาพทางสังคมของประเทศตน โดยยกตัวอย่างรูปแบบการพัฒนาของประเทศจีน ซึ่งการพัฒนานั้นตามรูปศัพท์เป็นการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือไปสู่ภาวะทันสมัย หลายประเทศเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีการศึกษาแนวคิดเรื่องของการพัฒนาและเริ่มปรากฏชัดเจนขึ้นในช่วงหลังสงครามเย็น ทฤษฎีความทันสมัยเป็นแนวคิดการพัฒนากระแสหลักที่ได้รับความนิยมในประเทศกาลังพัฒนาแถบตะวันตกโดยใช้สหรัฐอเมริกา ผู้นาโลกเสรีประชาธิปไตยเป็นต้นแบบของประเทศที่พัฒนาแล้วในขณะนั้น แต่แนวทางการพัฒนาตามทฤษฎีความทันสมัยนี้เป็นเพียงการตอบสนองผลประโยชน์ของประเทศมหาอานาจเท่านั้นและไม่เหมาะสมกับประเทศโลกที่สาม นักวิชาการฝั่งโลกตะวันออกจึงหาแนวทางในการพัฒนาให้สอดคล้องกับสภาพและบริบททางสังคมที่เป็นอยู่ หนึ่งในประเทศที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาคือ ประเทศจีน ที่รับเอาแนวคิดแบบตะวันตกมาปรับใช้ให้เข้ากับสังคมและวัฒนธรรมของตน เกิดเป็นโมเดลการพัฒนาแบบจีนที่มีลักษณะเฉพาะและสามารถพัฒนาประเทศให้มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกและเป็นประเทศที่มีบทบาทสาคัญในเวทีระหว่างประเทศ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ข้อมูลทั่วไป สาธารณรัฐประชาชนจีน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 จาก
http://www.thaiembbeij.org/thaiembbeij/th/republic of china/overview of china/
จักรี ไชยพินิจ. ทฤษฎีว่าด้วยการพัฒนาของวอลท์ วิทแมน รอสตาวกับบทบาทของประเทศมหาอานาจ: ข้อถกเถียงเชิงปรัชญาสังคมศาสตร์. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 6(1), 237 273, 2557.
ณัฐพล ขันธไชย,พนิดา ชินสุวพลา, นิคม เจียรจินดา. ความมหัศจรรย์ของการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศสาธารณะรัฐประชาชนจีน. วารสารเกษมบัณฑิต, 19 (พิเศษ), 161 177, 2561
ดารง ฐานดี. รัฐกับการพัฒนาประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
บุษบา หินเธาว์. การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2556.
ทิพจุฑา รวบยอด. (ม.ป.ป.). เปรียบเทียบนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อก้าวสู่อุตสาหกรรมสมัยใหม่ กรณีศึกษาไทย จีน สิงคโปร์. กรุงเทพฯ: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
วิวัฒน์ชัย อัตถากร. เศรษฐกิจโลกกับอนาคตระบบทุนนิยมไทยในศตวรรษ 21. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 14(2), 33 49, 2544
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์, กองภูมิภาคศึกษา. การปฏิรูปกองทัพจีน ปฏิกิริยาในภูมิภาคต่อสิ่งท้าทาย. เอกสารวิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคงอาเซียน, (9), 1 2. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 จาก http://aseanwatch.org/wp-content/uploads/downloads/2016/09/SSC-ASEAN-Focus-Vol.9591.pdf, 2559
สุมิตร สุวรรณ. รัฐกับแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน,2554
สุรชัย ศิริไกร. (ม.ป.ป.). จีนในฐานะประเทศมหาอานาจในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/chin/
สมภพ มานะรังสรรค์. (2546ก). ศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจของจีน. ใน จีนมหาอานาจในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์.
_______. บทบาททางเศรษฐกิจของจีนในศตวรรษที่ 21. ใน จีนมหาอานาจในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิถีทรรศน์, 2546ข.
อักษรศรี พาณิชสาส์น. เศรษฐกิจประเทศในเอเชีย. กรุงเทพมหานคร: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
________. The Rise of China จีน คิดใหญ่ มองไกล. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562.
อาร์ม ตั้งนิรันดร. China 5.0: สีจิ้นผิง เศรษฐกิจยุคใหม่และแผนการใหญ่ AI. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บุ๊คสเคป จากัด, 2561.
Bryant. Coralie. and White. Louise G. Managing development in the third world.
Boulder. Colorado: Westview Press, 1982.
Chow. G.C. China’s Economic Transformation. 2nd edition. Oxford: Blackwell Publishing, 2007.
Engerman. D.C. & Others. Staging Growth: Modernization. Development and the Global Cold War. Amherst and Boston: University of Massachusetts Press, 2003.
Ersson. Svante. and Lane. Jan-Erik. Democracy and development: A statistical exploration. In Leftwich. Adrian. ed. Democracy and development: Theory and Practice. Cambridge: Polity Press, 1996.
Goulet. Denis. The cruel choice: A new concept in the theory of development. New York: Atheneum. 1973.
Population and Ethnic Groups. (2003). Retrieve July 31, 2020 from http://china.org.cn/english/eng
shuzi2003/index.htm
Seers, D. ‘The Meaning of Development, with a Postscript’, in D. Seers, E.W. Nafziger, D.C. O’Brien, and H. Bernstein (eds) Development Theory: Four Critical Studies, Frank Cass: London, 1979.