องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการ: ผู้นำแนวพุทธ

Main Article Content

ดาราวรรณ ศรีกาญจนา
สมศักดิ์ บุญปู่
ระวิง เรืองสังข์

บทคัดย่อ

              องค์ประกอบของภาวะผู้นำทางวิชาการ เป็นคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารโดยตรง โดยเฉพาะผู้บริหารโรงเรียนจะต้องแสดงบทบาทฐานะผู้นาในการเป็นผู้นิเทศและให้คาปรึกษา เพื่อช่วยเหลือ แก่ครู อาจารย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจหลัก อันเป็นปัจจัยอิทธิพลที่ส่งผลต่อความสาเร็จ ในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็น การส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ที่ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องแสดงบทบาทในการเสริมสร้างบรรยากาศ ทางวิชาการ เพื่อสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างมี ประสิทธิภาพ การสร้างบรรยากาศในโรงเรียนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ควรมีหลายลักษณะ เช่น บรรยากาศที่ท้าทาย บรรยากาศที่เป็นอิสระ บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน และบรรยากาศที่มีความอบอุ่น และผู้บริหารงานที่ดีจะต้องมีวิธีการบริหารงานที่จะทาให้ชนะใจลูกน้องธรรมะสาหรับผู้บริหารงานคือจะต้องมีความหนักแน่นมั่นคงและสามารถเป็นเสาหลักในการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกน้องได้มีความสามารถในการแบ่งงานให้ลูกน้องทาตามความชานาญของแต่ละบุคคลและรู้จักกระจายอานาจให้แก่ลูกน้องได้ช่วยแบ่งเบาภาระของตนเอง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กอปรเชษฐ ตยัคคานนท์. หลักจิตวิทยาการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: เปลวอักษร, 2544.
ขุ.ชา.เอกก.อ.(ไทย) 3/1/170 – 177.
ที.ปา.(ไทย) 11/111-140/83-102.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. ภาวะผู้นาเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเซ็นทรัลเอ็กเพรส, 2537.
ประเวศ วะสี. ภาวะผู้นา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2540.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ภาวะผู้นา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทตถาตาพับลิเคชั่น จากัด, 2550.
______. ภาวะผู้นา: ความสาคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ธรรมดา, 2546.
______. ภาวะผู้นา ความสาคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, 2545.
______. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2528.
ลัดดาวรรณ นัดดาเทพ. “ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี”. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547.
วิษณุ จุลวรรณ. “การวิเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 2527.
Blasé and Blasé. Effective Instructionl Leadership: Teacher’ s Perspectives on How Principals Promote Teaching and Learning in Schools. Thousand Oaks : Corwin Press, 2004.
McEwan. Seven Steps to Effective Instructional Leadership. CA: Macmillan, 1998.
N.L. Frigon and H.K. Jackson. The Leader. New York : Amecom, 1996.
Seyfarth. The principal: New Leadership for New Challenges. NJ : Prentice-Hall, 1999.