การย้ายถิ่นระหว่างประเทศกับสถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย

Main Article Content

วสันต์ ปวนปันวงศ์

บทคัดย่อ

                ว่าด้วยปรากฎการณ์การย้ายถิ่นระหว่างประเทศ (International migration) บทความฉบับนี้ต้องการสะท้อนให้เห็นว่าการย้ายถิ่นระหว่างประเทศ (International migration) ที่มีความสัมพันธ์กับอานาจรัฐชาติ (Nation State) และ เส้นพรมแดน (boundary) ด้วยความเป็นรัฐชาติ (Nation State) จึงทาให้เกิดการแทรกแซงและการควบคุมทาให้ลักษณะของการย้ายถิ่นระหว่างประเทศ (International migration) ได้เปลี่ยนแปลงไปซึ่งสะท้อนออกมาในรูปของการเคลื่อนย้ายของคนจากประเทศหนึ่งไปยังประเทศหนึ่ง ฉะนั้นในประเด็นเรื่องการย้ายถิ่นระหว่างประเทศกับสถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย จะยึดการวิเคราะห์ในด้าน ลักษณะของการเปลี่ยนที่อยู่อาศัย โดยการเปลี่ยนที่อยู่อาศัยต้องข้ามเขตการปกครอง และเงื่อนไขด้านเวลา และนาเสนอเพื่อมุ่งอธิบายถึงสถานการณ์เรื่องของแรงงานต่างด้าวที่อพยพเข้ามาในประเทศไทย ดังประเด็นต่อไปนี้ 1. ว่าด้วยเรื่องสถานการณ์การอพยพย้ายถิ่นของแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาในประเทศไทย 2. นโยบายของรัฐในการกากับควบคุมคนต่างด้าวในประเทศไทย ทั้งนี้ผู้เขียนยังได้ทาการวิเคราะห์ประเด็นเรื่อง การย้ายถิ่นระหว่างประเทศกับสถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย ผ่านกรอบทฤษฎี ได้แก่ การย้ายถิ่นของแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว และกัมพูชา) ที่เข้ามาในประเทศไทยตามทฤษฎีว่าด้วยการย้ายถิ่น (Theory of Migration) และ การย้ายถิ่นของแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว และกัมพูชา) ที่เข้ามาในประเทศไทยตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classical Economic) ผลของการวิเคราะห์ผ่านทฤษฎีข้างต้นส่งสะท้อนให้เห็นว่าการย้ายถิ่นของแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว และกัมพูชา) ส่งผลด้านบวกและด้านลบต่อประเด็นด้านการเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Adisorn Keadmongkol. Focus to Turning point of Migrant worker’s management policy: Policy and Aptitude. Retrieved Mar 5th, 2019, from http://prachatai.com/journal/2012/04/40139. (in Thai), 2015
Adisorn Keadmongkol. Focus to Turning point of Migrant worker’s management policy: Policy and Aptitude. Retrieved Mar 5th, 2019, from http://prachatai.com/journal/2012/04/40139. (in Thai), 2015.
Ardun Ratso. The effect of public health in migrant worker; research only Phuket case
Brettell, C., & Hollifield, J. F. Migration theory: Talking across disciplines. (New York: Routledge, 2008).
Dirk Hoerder. “Migrations and Belongings,” in: A World Connecting, 1870–1945, ed. Emily Rosenberg Cambridge, MA: Harvard University Press. 2012.
Kom Chad Luek. Migrant worker in Thailand. Retrieved Mar 5th, 2019, from http://www.komchadluek.net/detail/20110719/103367/300%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9l. (in Thai), 2014.
Lee, Everett S. A Theory of Migration. Retrieved. July 13th, 2019, from https://emigratecaportuguesa.files.wordpress.com/2015/04/1966-a-theory-ofmigration.pdf, 1966.
Office of Foreign Workers Administration in Department of employment. Summary in 2562 B.E. of foreign workers administration and management in Thailand. Retrieved. July 13th, 2019, from https://www.doe.go.th/alien (in Thai)
Office of Foreign Workers Administration in Department of employment. (2019). Summary in 2562 B.E. of foreign workers administration and management in Thailand. Retrieved. July 13th, 2019, from https://www.doe.go.th/alien (in Thai) Retrieved Mar 5th, 2019, from http://graduate.pkru.ac.th/Abstract/development%20strategies/abstact45_adon.html. (in Thai), 2009.
Santhat Sermsri. Social-Class Demographic. Nakhon Pathom: The Department of Social Science, Faculty of Social Science and Humanity, Mahidol University. 1996.
T Faist. Trans nationalization in international migration: implications for the study of citizenship and culture. Ethnic and racial studies. 23. (2). (2000). pp. 189-222.
Wongkritsanan Janthira. Relationship of Migrant worker’s rights certification and Security of Immigrated state. Retrieved Mar 5th, 2019, from http://www.learners.in.th/blogs/posts/466125. (in Thai), 2014.