การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ

Main Article Content

อณิษฐา หาญภักดีนิยม
ศิริขวัญ ปัญญาเรียน

บทคัดย่อ

               การศึกษาการพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของผลิตภัณฑ์ OTOP ในจังหวัดลาปางตามแนวพุทธ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ 3) เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดอาเซียนตามแนวพุทธ ทาการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สอบถามกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้ประกอบการข้าวแต๋นที่ลงทะเบียนผลิตภัณฑ์ OTOP ได้รับการคัดเลือกสินค้าในระดับ 4-5 ดาว ในจังหวัดลาปาง รวมถึงกลุ่มผู้บริโภคในการซื้อสินค้าและเจ้าหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน เจ้าหน้าที่พาณิชย์จังหวัดลำปาง เจ้าหน้าที่หอการค้า เจ้าหน้าที่อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง
                 ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะสภาพทั่วไปของข้าวแต๋นเป็นข้าวเหนียวทอดกรอบราดน้าอ้อยที่ผลิตขึ้นในพื้นที่จังหวัดลาปางด้วยภูมิปัญญาของชาวบ้านในจังหวัดลาปาง เป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์ที่สาคัญ ได้รับมาตรฐานขึ้นเป็นแหล่ง GI ของจังหวัดลาปาง จึงเปรียบเสมือนเป็นแบรนด์ของท้องถิ่นที่บ่งบอกถึงคุณภาพและแหล่งที่มาของสินค้า ซึ่งคุณภาพของสินค้าจะต้องได้รับมาตรฐานหรือการได้รับการับรองสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์แสดงถึงภูมิปัญญาไทยในระดับ 4-5 ดาว เพื่อพัฒนาต่อยอดสู่สากล โดยการพัฒนาสินค้า ในกลุ่มนี้ผู้ประกอบการจึงมีบทบาทสาคัญในการรักษามาตรฐานคุณภาพของสินค้า โดยยึดหลักธรรมเอาใจใส่แก่ผู้บริโภค ในเรื่องของความปลอดภัย ความสะอาด และความซื่อสัตย์ตามหลักอิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา เพื่อเป็นแนวทางในการทากิจการให้ประสบความสาเร็จอย่างมีคุณภาพจึงมีการเสนอแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ดังนี้ 1) เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต 2) ยกระดับมาตรฐานและการสร้างมูลค่าแก่ผลิตภัณฑ์ 3) การเสริมสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการ 4) เพิ่มช่องทางการตลาด และ 5) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย แนวทางทั้ง 5 ด้าน จะช่วยเสริมสร้างการพัฒนาสินค้าข้าวแต๋น ให้เข้าสู่ตลาดสากลไดอย่างมีคุณภาพได้รับมาตรฐาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการพัฒนาชุมชน. เอกสารดาเนินงานหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทบพิธการพิมพ์ จากัด, 2548.
กฤตชญาภัค อุ่นเสรี. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC: ASEAN Economic Community. เอกสารความรู้ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2554.
กาญจนา แก้วเทพ. มรดกทางวัฒนธรรมและศาสนา พลังในชุมชนชนบท. กรุงเทพมหานคร : สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา. 2530.
จิตจานงค์ กิติกีรติ. การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร : คุณพินอักษรกิจ, 2534.
จีระ กาญจนภักดิ์ และพะนอจิต เหล่าพูลสุข. เอกสารวิชาการองค์ความรู้ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจแบบพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : หจก.โรงพิมพ์ยูไนเต็ดดปรดักขั่น, 2541.
จาริตา หินเธาว์, กันยารัตน์ สุขวัธนกุล, และคณะ, การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา: กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา บ้านถ้าเต่า หมู่ 1 ตาบลสามัคคีพัฒนา อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนครในการสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 สาขาเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (น.9-16). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2553.
ใจมานัส พลอยดี, แนวคิดและหลักการพื้นฐานของ OTOP, 2550.
สัมภาษณ์ : เจ้าหน้าที่กระทรวงพาณิชย์ จังหวัดลาปาง, 30 ตุลาคม 2560.
ณัฐพร เขียวเกษมและเสน่ห์ ทองเขียว. “การศึกษาการดาเนินงานตามโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของจังหวัดนครสวรรค์” (รายงานวิจัย). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 2547.
ณรงค์ศักดิ์ ธนวิบุลย์ชัยและคณะ. หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น, พิมพ์ครั้งที่ 12. นนทบุรี :คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2534.
ธันยมัย เจียรกุล. 2557. ปัญหาและแนวทางการปรับตัวของ OTOP เพื่อพร้อมรับการเปิด AEC, ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน, 2557.
นพวรรณ สิริเวชกุล. หัตถศิลป์ ถิ่นรถม้า ภูมิปัญญาคนลาปาง. กรุงเทพมหานคร:บริษัทแสงปัญญาเลิศ จากัด, 2545.
นกาล มาตยศิริ. ลาปาง:เสน่ห์เขลางค์นคร. กรุงเทพมหานคร: บริษัทแสงปัญญาเลิศ จากัด, 2542.
นิตย์ สุขศรี. “ปัจจัยแห่งความสาเร็จของผู้ประกอบการในอาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี”,คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. 2553.
ปราณี ตันประยูร. “คุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสาเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางแลขนาดย่อมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”, มหาวิทยาลัยราชภัฎ, 2555.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). ธรรมกับไทย ในสถานการณ์ปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2541.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก,
2540.
พระมหาจุลศักดิ์ จิรวฑฺฒโน. “แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาเศรษฐกิจแนวพุทธของปราชญ์อีสาน”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, 2547.
พีระพงษ์ กลิ่นลออ. “รูปแบบนวัตกรรมการสื่อสารแนวพุทธ เพื่อการพัฒนาเกษตรกรสู่เศรษฐกิจพอเพียง”, วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-กันยายน. 2558.
พิมพ์ลภัทร ศรีมณฑา. “ภาพลักษณ์ตราสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ในเขตจังหวัดนนทบุรี”,
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ์. 2554.
พัชราพร วีรสิทธิ์. “ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบห้าประการของบุคลิกภาพและความสามารถในการเผชิญปัญหาและอุปสรรคตามหลักอิทธิบาท 4 ของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอยู่ในสานักงานประกันสังคม”. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2546.
พัชราพร วีรสิทธิ์. “ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบห้าประการของบุคลิกภาพและความสามารถในการเผชิญปัญหาและอุปสรรคตามหลักอิทธิบาท 4 ของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอยู่ใน
สานักงานประกันสังคม”. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2546.
สุภาพรรณ ณ บางช้าง. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556.
สนอง วรอุไร. ทาชีวิตให้ได้ดีและมีสุข. พิมพ์ครั้งที่ 10, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์อัมรินทร์,สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม, เอกสารเข้าเล่มมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.tisi.go.th/data/nsw/NSW_Manual.pdf [3 ตุลาคม 2559]
ศรีสุดา ลีลาสุวัฒน์ และคณะ. “แนวทางการพัฒนาการตลาด OTOP สู่สากล”, รายงานการวิจัย,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, 2558.
อภิชัย พันธเสน. “สังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง”, กรุงเทพมหานคร: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549
Huan Wang. “ภาพลักษณ์ตราสินค้าและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นของผู้บริโภคในเขตอาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง”. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, 2558.
Johannisson, B. The dynamics of entrepreneurial networks. In Reynolds,P.et al. (Eds.). Frontiers of Entrepreneurship Research, 1996, 253-267.