พัฒนาทุนมนุษย์ในยุคไทยแลนด์ 4.0

Main Article Content

ฤทธิพล ไชยบุรี

บทคัดย่อ

               บทความฉบับนี้เป็นบทความวิชาการที่มุ่งประเด็นการนาเสนอเนื้อหาสาคัญเกี่ยวกับการสร้าง “ทุนมนุษย์”ขององค์การ โดยมีแนวคิดที่ว่าบุคลากรเป็นทรัพยากรที่สาคัญและมีคุณค่าขององค์การ องค์ประกอบของทุนมนุษย์นั้นประกอบไปด้วย ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital), ทุนทางสังคม (Social Capital), ทุนทางอารมณ์ (Emotional Capital) โดยที่องค์การต้องกาหนดนโยบาย หรือวิธีการเสริมสร้างทางด้านความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์และการพัฒนาทักษะต่างๆ ให้แก่บุคลากร รวมถึงการใช้กลยุทธ์ต่างๆเพื่อดึงความสามารถของบุคคลที่สั่งสมอยู่ในตนเอง มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดจนเกิดเป็นศักยภาพขององค์การ ซึ่งทุนมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพถือเป็นสิ่งที่สร้างความได้เปรียบให้แก่องค์การนั้นๆในด้านความสามารถในการแข่งขันและส่งผลให้สามารถกาหนดนโยบายหรือทิศทางในการพัฒนาองค์การให้ไปสู่ความสาเร็จได้มากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลวัฒน์ ยะสารวรรณ, การรับรู้กฎระเบียบของพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง, รายงายวิจัยนโยบายสาธารณะ, มหาวิทยาลัยบูรพา: วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์, 2547
จรัสศรี เพ็ชรคง, “การพัฒนาทุนมนุษย์ของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก”, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552
จินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์, รวมบทความการบริหารทรัพยากรมนุษย์, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส, 2552
จิรประภา อัครบวร, โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์, 2549.
ชัยวัฒน์ ชยางกูร, ผู้นาหลายมิติ, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2549,
ดนัย เทียนพุฒ, บริหารคนในทศวรรษหน้า, พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จากัด, 2551
ธารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์, การกาหนดตัวชี้วัดเพื่อพัฒนา, กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น, 2550
นิสดารก์ เวชยานนท์. มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์, กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2551
ประเวศ วะสี, สันติวิธีกับสิทธิมนุษยชน, พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร: สานักงานสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2545 ปราชญา กล้าผจัญ และพอตา บุตรสุทธิวงศ์, การบริหารทรัพยากรมนุษย์, กรุงเทพมหานคร :บริษัทสานักพิมพ์ข้าวฟ่าง จากัด, 2550
พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์, พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior), กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2545
มานพ ชูนิล และภราดี บุตรศักดิ์ศรี, จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น, กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2548.
ศิระ โอภาสพงษ์, ทุนมนุษย์, กรุงเทพมหานคร : เออาร์ บิซิเนส เพรส, 2543.
พิพัฒน์ ก้องกิจกุล, คู่มือปฏิบัติวิธีวัดความพึงพอใจของลูกค้า, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์บีไบร์ทบุ๊คส์. 2546.
ศุภชัย ยาวะประภาษ, การบริหารงานบุคคลภาครัฐไทย : กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย, พิมพ์ครั้งที่ 22, ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, ทฤษฎีทางการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ท, 2550
Abraham H. Maslow, “Theory of Human Motivation”, Psychological Review 50, New York: Harper and Row Publisher, 1970.
Adams, J. Stacey, "Inequity in social exchange", Advances in Experimental Social Psychology, Vol. 2, New York : Academic Press, 1965 Andrew Mayo อ้างใน สุรพงษ์ มาลี, “The Human Capital Journey : เส้นทางสู่บทบาทใหม่ของการบริหารทุนมนุษย์”, วารสารข้าราชการ, ปีที่ 51 ฉบับที่ 2, (มีนาคม-เมษายน 2549), หน้า 22-25.
Angela Baron and Micael Armtrong, Human Capital Managemant : Achieving Added Value, หน้า 22-25จรัสศรี เพ็ชรคง, “การพัฒนาทุนมนุษย์ของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก”, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552
Angela Baron and Micael Armtrong, Human Capital Managemant : Achieving Added Value Through people, London : Kogan page, 2007. David M. Walker, “Managing Human Capital in the 21st century”, United States General Accounting ffice Report, 2000.
David Mc Clelland, "Business Drive and National Achievement", Harward Business Review, Harward University 1962
G. Roos and J. Roos, “Measuring your company’s intellectual performance”, Long Range Planning, Vol.3 199) p. 147-155.
G. Roos and J. Roos, “Measuring your company’s intellectual performance”, Long Range, 1997
Humphrey, G.. The psychology of the gestalt. Journal of Educational Psychology, 1924. Leonard Nadler, Developing Human Resources, San Francisco : Jossey-Bass Inc. Wiley, 1986. Leonard Nadler, Developing Human Resources, San Francisco : Jossey-Bass Inc. Wiley, Patrick M. Wright, Benjamin B. Dunford and Scott A. Snell, “Human Resources and the Resource-Based view of the Firm”, Journal of Management, Vol.6, 2001.
Phillip C. Baumel อ้างใน ปภาวดี ประจักษ์ศุภนิติ และ กิ่งพร ทองใบ, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2531
Victor H. Vroom and Lyman W. Porter and Edward E. Lawler, Work and Motivation, Jossey-Bass Classics, 1995.