แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของบุคลากร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน

Main Article Content

สุจิน ศรีประภา

บทคัดย่อ

               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทางานเป็นทีมของบุคลากรสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน ในด้านการวางแผนและการกาหนดเป้าหมายร่วมกัน ด้านการให้ความร่วมมือของสมาชิก ด้านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ด้านการสนับสนุนและการไว้วางใจ และด้านการตัดสินใจร่วมกัน และเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการทางานเป็นทีมของบุคลากร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน กลุ่มตัวอย่างการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการ ลูกจ้างประจาและพนักงานราชการ ซึ่งเป็นบุคลากรของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน จานวน 130 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 0.898 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และ f-test
ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการทางานเป็นทีมของบุคลากร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน ในด้านการวางแผนและการกาหนดเป้าหมายร่วมกัน ด้านการให้ความร่วมมือของสมาชิก ด้านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ด้านการสนับสนุนและการไว้วางใจและด้านการตัดสินใจร่วมกัน โดยจาแนกตามข้อมูลพื้นฐาน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นบุคลากรของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 11 สุราษฎร์ธานี เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ยอยู่ในช่วง 46 - 55 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ตาแหน่ง ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการวางแผนและการกาหนดเป้าหมายร่วมกัน ด้านการให้ความร่วมมือของสมาชิกด้านการสื่อสารกันอย่างสร้างสรรค์และด้านการตัดสินใจร่วมกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนด้านการสนับสนุนและการไว้วางใจ ไม่แตกต่างกัน ด้านเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ด้านอายุและตาแหน่งงาน พบว่าโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 และแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการทางานเป็นทีมของบุคลากรสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน พบว่า สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานและสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาคใต้ตอนบน ควรกาหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ วิธีการหรือแนวทางการดาเนินงานตลอดจนหน้าที่ในการปฏิบัติงานของบุคลากรและตาแหน่งให้ชัดเจน และต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคน มีส่วนร่วมในการกาหนดวางแผนการปฏิบัติงานและร่วมลงมือปฏิบัติงาในทุกขั้นตอน เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจและรู้สึกมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบและผู้บริหารต้องดารงไว้ซึ่งความยุติธรรมและยึดหลักการมีเหตุผลในการบริหารงาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ทัศนีย์ ตั้งวรรณวิทย์ และอนุพงษ์ อินฟ้าแสง. บทบาทของทรัพยากรบุคคลที่ส่งผลต่อสมรรถนะการทางานเป็นทีมของสถานประกอบการในสวนอุตสาหกรรมโรจนะจังหวัดพระนครศรีอยุธยากับทรัพยากรบุคคลที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์, ปีที่ 16, เล่มที่ 1. (มกราคม-มิถุนายน, 2557), หน้า 1.
พลธรรม พลการ. “การพัฒนารูปแบบการทางานเป็นทีมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในการจัดการแข่งขันกีฬาของการกีฬาแห่งประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. การบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยจันทร์เกษม, 2553.
สัมมนา สีหมุ่ย. การศึกษาประสิทธิภาพการทางานเป็นทีมของบุคลากร องค์การบริหาร ส่วนตาบลในเขตอาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา. สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2553.
สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สานักงาน ก.พ. คู่มือการพัฒนาข้าราชการตาม สมรรถนะหลัก (Core Competencies). กรุงเทพมหานคร: บริษัทแอร์บอร์นพรินต์จากัด, 2553.
McGroagor, D. The human side of enterprise. New York: McGraw – Hill.,1992.
Parker, G. M., Team Players and Team Work: The New Competitive Business Strategy. San Francisco, Calif.: Jossey – Bass, 1990.