การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ รายวิชาอาเซียนศึกษาของนิสิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
รายงานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาบทเรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชาอาเซียนศึกษา เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รายวิชาอาเซียนศึกษาของนิสิตสาขารัฐศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์นครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชาอาเซียนศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนิสิต ที่เรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ในรายวิชาอาเซียนศึกษา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชาอาเซียนศึกษา โดยผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาบทเรียนตามขั้นตอน ของพรเทพ เมืองแมน และชัยวงศ์ พรหมวงศ์ พร้อมทั้งได้ออกแบบบทเรียนตามทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นิสิตสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์นครลาปาง จังหวัดลาปางที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาอาเซียนศึกษา ปีการศึกษา 2558 จานวนนักเรียน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Sample random Sampling) และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) บทเรียนรายวิชาอาเซียนศึกษา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบทดสอบระหว่างเรียนเป็นแบบทดสอบระหว่างเรียน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการเรียน
โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้ 1) หาประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) โดยใช้ E1/E2 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ การทดสอบด้วยค่า t-test และค่าร้อยละความก้าวหน้า 3) ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อบทเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาบทเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รายวิชาอาเซียนศึกษา ของนิสิตสาขารัฐศาสตร์ เป็นบทเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ E-book) ที่มีประสิทธิภาพ 80.00/89.56 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลังจากที่เรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชาอาเซียนศึกษา สูงขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนการเรียน โดยค่า t= 29.87 แสดงให้เห็นว่าผลการทดสอบก่อนการทดลองและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จริง แสดงว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชาอาเซียนศึกษา มีส่วนทาให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนิสิตสูงขึ้น ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตัง้ ไว้ และความพึงพอใจของนิสิตที่มี ต่อการเรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายวิชาอาเซียนศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.79, S.D.= 0.34) แสดงว่านิสิตมีความพึงพอใจที่ดีต่อการเรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จึงทาให้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชาอาเซียนศึกษา เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ที่มีประสิทธิภาพเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Ebook)
ในลักษณะการเรียนการสอนจริง เกิดความสนใจ เร้าความรู้สึกของนิสิต จึงทาให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเรียนได้ตามความรู้ ความสามารถของนิสิตเอง เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ทางเทคโนโลยีที่ทาให้ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนิสิตสูงขึ้น ทา ให้นิสิตมีความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชาอาเซียนศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
วรรณี ศรีวิลัยและวิรดา อรรถเมธากุล,การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง กายวิภาคศาสตร์ของระบบหัวใจ หลอดเลือดและระบบไหลเวียนน้าเหลือง, รายงานการวิจัย, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี, 2553.
ศันสนีย์ เลี้ยงพานิชย, ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจจากการใช้เว็บเครือข่ายสังคมเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์,โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2555.