หลักคำสอนทำงพระพุทธศำสนำกับกำรพัฒนำสังคมในยุค 4.0

Main Article Content

ณรงค์ ปัดแก้ว

บทคัดย่อ

               หลักคำสอนทำงพระพุทธศำสนำกับกำรพัฒนำสังคมในยุค 4.0 ในปัจจุบันตำมนโยบำย Thailand 4.0 พบว่ำ สังคมไทยที่ผ่ำนมำยังติดกับดัดรำยได้ปำนกลำงก็เพรำะ สังคมไม่สำมำรถที่จะขยับขึ้นไปแข่งขันกับประเทศคู่แข่งขันที่ขับเคลื่อนด้วยวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี นวัตกรรมและควำมคิดสร้ำงสรรค์ เนื่องจำก มนุษย์ไม่มีกำรพัฒนำตำมกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดปัญหำในเรื่องของควำมเหลื่อมล้ำทำงสังคมและควำมไม่สมดุลเท่ำเทียมกัน หลักพระพุทธศำสนำจึงเป็นศูนย์รวมคำสั่งสอนให้มนุษย์เกิดควำมเข้ำใจในกำรประพฤติปฏิบัติเพื่อกำรดำเนินชีวิตด้วยควำมสุข และยุติธรรม หลักศำสนำจึงเป็นตัวเชื่อมให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน เช่น กำรยึดหลักแนวคิดเรื่องทำงสำยกลำง “มัชฌิมำปฏิปทำ” อริยมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปปะ สัมมำวำจำ สัมมำกัมมันตะ สัมมำอำชีวะ สัมมำวำยำมะ สัมมำสติ สัมมำสมำธิ จำกแนวคิดนี้เป็นหนทำงที่มุ่งตรงสู่จุดหมำยที่ดีงำม โดยไม่ข้องแวะในทำงสุดโต่ง โดยมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเป็นแกนนำสร้ำงสรรค์พฤติกรรมและจิตใจให้ดีงำมไม่เบียดเบียนผู้อื่น และตนเอง สร้ำงควำมยั่งยืนในสังคมอย่ำงมีคุณภำพ ดังนั้น สังคมไทยต้องร่วมมือกันในกำรหลุดพ้นกับดักของรำยได้ปำนกลำงเหล่ำนี้ ผ่ำนกำรขับเคลื่อนด้วยปัญญำ 1) สร้ำงควำมมั่นคงแก่สังคม 2) ลดควำมเหลี่ยมล้ำทำงสังคม 3) ยึดหลักธรรมในกำรดำรงชีวิต ในลักษณะของกำรบูรณำกำรในหลักคำสอนทำงพระพุทธศำสนำสร้ำงคุณค่ำให้แก่สังคมมำกกว่ำตนเองโดยยึดหลักสิกขำ 3 หรือไตรสิกขำ ศีล สมำธิ และปัญญำ ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้เกิดสังคมที่เปี่ยมสุข (Happiness) และเป็นสังคมที่มีควำมสมำนฉันท์ (Harmony) เป็นสังคมที่มีควำมพอเพียง โดยมีคนชนชั้นกลำงเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ เกิดควำมเท่ำเทียมในสังคม ด้ำนควำมเหลื่อมล้ำอยู่ในระดับต่ำ มีสิ่งแวดล้อมและสุขภำพที่ดี ซึ่งในท้ำยที่สุดก็จะสร้ำงควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนแก่ประเทศต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะกรรมกำรศำสนำเพื่อกำรพัฒนำ. พุทธทัศนะเพื่อกำรสร้ำงสรรค์สังคมใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์เทียนวรรณ. 2537.
ปรีชำ ช้ำงขวัญยืน. ทรรศนะทำงกำรเมืองของพระพุทธศำสนำ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหำนคร: สำมัคคีสำส์น จำกัด. 2540.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺ โต) และศำสตรำจำรย์นำยแพทย์ประเวศ วะสี. พุทธเศรษฐศำสตร์ วิวัฒนำกำร ทฤษฎีและกำรประยุกต์กับเศรษฐศำสตร์สำขำต่ำงๆ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์. 2544.
พระครูโสภณปริยัติสุธี. พุทธรรมกับกำรบริหำร. พิมพ์ครั้งที่ 2 พะเยำ: หจก.โรงพิมพ์เจริญอักษร. 2558.
พุทธทำสภิกขุ. ศีลธรรมกับกำรแก้ปัญหำสังคม. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์บริษัทตถำตำ พับลิเคชั่น จำกัด. 2548.
ส.ศิวรักษ์. พุทธทัศนะเพื่อกำรสร้ำงสรรค์สังคมใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์เทียนวรรณ. 2537
สุทธิพร รัตนธร ศรัทธำ. ศึกษำกำรพัฒนำที่ยั่งยืนแนวพุทธในทัศนะพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). วิทยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบัณฑิต. 2553.
สุรพล ไกรสรำวุฒิ. สติปัฏฐำน 4. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสถำนจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. 2554.
อัณณพ ชูบำรุง. ควำมพร้อมในกำรเผชิญโลกยุคปี 2000. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหำนคร: พิมพ์บริษัทดับเบิ้ลนำยน์ พริ้นติ้ง จำกัด. 2542.
อภิชัย พันธเสน. พุทธเศรษฐศำสตร์ วิวัฒนำกำร ทฤษฎีและกำรประยุกต์กับเศรษฐศำสตร์สำขำต่ำงๆ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์.2544.
อมร โสภณวิเชฏฐวงศ์. พระพุทธศำสนำกับวัฒนธรรมและกำรเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหำนคร:
โรงพิมพ์มหำมกุฎรำชวิทยำลัย.2542.