ปัญหาการคบมิตรของเด็กและเยาวชนในสังคมไทย พุทธบูรณาการเข้ากับหลักธรรมในคัมภีร์มังคลัตทีปนี

Main Article Content

พระครู สุนทรเขมาภินันท์
พระใบฎีกาทวี อาจิณฺโณ (ทับทิมสุข)

บทคัดย่อ

               ปัญหาเด็กและเยาวชนกับสังคมไทยปัจจุบัน นับวันจะเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นกลายเป็นปัญหาที่ดูเหมือนว่าไม่อาจจะแก้ไขได้ในอนาคตสาเหตุของการกระทาความผิดเกิดเนื่องมาจากสภาพครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัว สภาพสิ่งแวดล้อมในสังคม ความเจริญของเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อการคบมิตรหรือคบเพื่อน ส่งผลให้เกิดการกระทาความผิดในรูปแบบต่างๆ เช่น ปัญหายาเสพติด การเล่นเกมส์ออนไลน์ อาชญากรรม เป็นเรื่องสาคัญที่ทุกภาคส่วนจะต้องให้ความสนใจและเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโดยบูรณาการประยุกต์เข้ากับหลักธรรมในคัมภีร์มังคลัตทีปนีทางพระพุทธศาสนาเช่น การไม่คบ คนพาล การคบบัณฑิต เพื่อส่งเสริมแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนในสังคมยุคไทยแลนด์ 4.0 ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
เจริญภักดีวานิช. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้วิกฤติสังคม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.2546.
ชมนาด บุญอารีย์. การวิเคราะห์หนังสือพุทธศาสนาประเภทบันเทิงคดีสาหรับเด็กก่อนวัยรุ่น.วิทยานิพนธ์บรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2553.
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http ://www.gotoknow.org/ posts. [23พฤศจิกายน2560].
ประเทืองภูมิภัทราคม. รศ.ดร. การปรับพฤติกรรม: ทฤษฎีและการประยุกต์.
พระครูโสณธรรมวิจารณ์ (ทรงพล อ สุกาโร). ”ความพึงพอใจของนักเรียนในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนป่าโมกวิทยาภูมิ จังหวัดอ่างทอง”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธคณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). ศาสนาและเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, 2539.
พระราชวรมุนี (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2529.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับเดิม. พิมพ์ครั้งที่13. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สหธรรมิก.2550. พระสิริมังคลาจารย์. มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม1. พิมพ์ครั้งที่13. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.2540.
______. มงฺคลตฺถทีปนิยาปฐโมภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. 2539.
พุทธทาสภิกขุ, “บรมธรรมกับการศึกษาของโลกปัจจุบัน”.ในวิถีการเรียนรู้ของคนไทย : ประมวลสาระจากการประชุมและรวมข้อเขียนจากนักคิด. รวบรวมและจัดพิมพ์โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร: โครงการวิถีการเรียนรู้ของคนไทย, 2546.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2543.
สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 2542.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.2545.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2545.
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. คอลัมน์สกู๊ปหน้า 1 “ปัญหาเด็กและเยาวชน”. ฉบับที่ 23717 วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560.
อมรวิชช์นาคทรรพและคณะ. โครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนรายจังหวัด สถาบันรามจิตติ. กรุงเทพมหานคร: สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). 2547-2548.
Morris L. Bigge S. Samuel Shermis. Learning Theories For Teachers : How Does Skinner’s Operant Conditioning Work?. New York: Macmillan. 1988.