วัด: บทบาทการเสริมสร้างสันติสุขในชุมชนท่ามกลางสังคมไทย

Main Article Content

พระครูสังฆรักษ์ศุภณัฐ ภูริวฺฑฒโน
โสภณ จาเลิศ
อำนวย สันเทพ

บทคัดย่อ

              วัดเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสถาบันศาสนา พุทธศาสนาเป็นสถาบันหนึ่งที่สาคัญในสังคมไทยไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสถาบันชาติ และสถาบันพระมหากษัรติย์ โดยมีบทบาทในฐานะเป็นผู้กาหนดสรรค์สร้างความเจริญก้าวหน้าและความมั่นคงให้กับสังคมไทยที่มีต่อเนื่องยาวนาน วัดเป็นสถานที่ที่มีความหลากหลายในบทบาท เช่น วัดเป็นสถานศึกษา โรงพยาบาล ศาลสถิตยุติธรรม สถานสงเคราะห์เด็กและคนชรา ที่พักพิงของคนเดินทาง แหล่งสวัสดิการชุมชน วิถีชีวิตของคนไทยได้ผูกพันกลมกลืนกับหลักความเชื่อและหลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา ส่งผลถึงชีวิตจิตใจของคนไทย ได้หล่อหลอมอุปนิสัยให้มีความรัก ความเมตตาและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จากสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้พระสงฆ์มีส่วนสาคัญในการนาเอาหลักธรรมมาช่วยเสริมสร้างสันติสุขให้ชุมชนเกิดความสงบสุขโดยครอบคลุมองค์ประกอบ คือ การศึกษา ศาสนา การเมือง กระบวนการยุติธรรม และเรื่องของสื่อทางสังคม ทั้งหมดถือว่าเป็นองค์ประกอบการสนับสนุนสร้างสันติภาพในชุมชนได้อย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, 2545
กีรติ บุญเจือ. ปรัชญาประสาชาวบ้าน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น, 2546
จานง อดิวัฒนสิทธิ์. สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547
พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทธาจาโร). ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 2558, 3(1), หน้า 133
พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่ม 12 ข้อ 64 หน้า 56.
พระสมุทรวชิรโสภณ (โสภณ ธมฺมโสภโณ). การพัฒนาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยของคณะสงฆ์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 2(1), 74, 2557
พุทธทาสภิกขุ. พุทธธรรมประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: ธรรมทานมูลนิธิ, 2551
วันชัย วัฒนศัพท์. ความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. (พิมพ์ครั้งที่ 4), ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา, 2550
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. “เรื่องความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย”. รายงานสถานการณ์ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย เอกสารประกอบการประชุมประจาปี2550,เล่มที่1 (กรกฎาคม 2550), หน้า 7-9
อานันท์ ปันยารชุน. คนดีที่สังคมยังต้องการ. (พิมพ์ครั้งที่ 4), ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา, 2541
อุทิศ จึงนิพนธ์สกุล. เศรษฐกิจวัดในกรุงเทพมหานคร (2325-2453). ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525, หน้า 63-64
D. Gopalakrishna & Amar Datt, “Buddhish Vitues: The Foundations of Socio-Economic Development-A Study”, in Buddhist Virtues in Socio-Economic Development. Ven. Dr. Khamai Dhammasami and other Editorial, (Bangkok: Thairaiwanprinting, 2011), p. 62