รายจ่ายสาธารณะในมิติของการพัฒนาทุนมนุษย์

Main Article Content

พิจักษณ์ ภู่ตระกูล

บทคัดย่อ

              การที่ประเทศจะพัฒนาได้นั้น นอกจากการมีภาวะเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ มีการกระจายทรัพยากรอย่างทั่วถึงแล้ว สิ่งหนึ่งที่เป็นสิ่งสาคัญสาหรับการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนคือ “คน” ที่ทุกภาคส่วนของประเทศต้องช่วยกันพัฒนาให้กลายเป็น “ทุนมนุษย์” เพราะเป็นไปไม่ได้ที่ประเทศจะพัฒนาอย่างยั่งยืนได้โดยไม่พัฒนาคน หากพิจารณาถึงยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวกับรายจ่ายสาธารณะจะพบว่ามีจานวนมากถึงเกือบครึ่งหนึ่งของรายจ่ายทั้งหมดที่ลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ แต่การลงทุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องใช้เวลาในการพัฒนาที่ยาวนาน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องจ่ายรายจ่ายสาธารณะนี้ในระยะยาว และจากการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่รายจ่ายสาธารณะจานวนมากจะจ่ายให้กับกระทรวงศึกษาธิการ อันเป็นการลงทุนในคนในระยะยาว ซึ่งหากจะให้ได้ผลอย่างจริงจังต้องมีระบบการประเมินผลที่ชัดเจนว่าจานวนเงินที่ลงทุนในทุนมนุษย์นั้นคุ้มค่าและให้ผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment) มากน้อยเพียงใด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. การคลังว่าด้วยการจัดสรรและการกระจาย. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541
ณัฐพัชร์ สถิตพรธนชัย. การคลังสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร:เอ็กซ์เปอร์เน็ท, 2552
ณาตยา เด่นพงศ์สันต์. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนโยบายการคลัง. กระทรวงการคลัง. จากhttp:// fpolumfpo.go.th/fpolcmui/, 2552
นิสดารก์ เวชยานนท์. ประวัติศาสตร์ระบบราชการและการบริหารงานบุคคลภาครัฐของไทย(พ.ศ.2418-ปัจจุบัน. นนทุรี:รัตนไตร, 2556.
พนม ทินกร ณ อยุธยา. การบริหารงานคลังรัฐบาล เล่ม 2 : การบริหารงานคลังรัฐบาลมหภาค 2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ศิลป์สยามการพิมพ์, 2534
สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี, งบประมาณโดยสังเขป ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2559
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564
สุภาสินี ตันติศรีสุข และจีระ ประทีป. หน่วยที่ 4 นโยบายการคลังกับเศรษฐกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิทยาการจัดการ ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการคลังและงบประมาณ. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). นนทบุรี: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549
Barney, J. “Firm Resources and Sustained Competitive Advantage”. Journal of Management, vol. 17, 1991, pp. 99-120.
Becker, Gary S. Human Capital: A Theoretical and Empirical Analysis with Special Reference to Education. 3rd ed., Chicago: University of Chicago Press. 1993
Gratton; Ghoshal, Sumantra. “Managing Personal Human Capital”, European Management Journal, Feb. 2003, Vol. 21,Iss. 1, p. 1-10.
Musgrave, R.A. and P.B. Musgrave. Public Finance in Theory and Practice. 5th edition, McGraw-Hill,1989. pp. 216-217
Musgrave, R.A. and P.B. Musgrave. Public Finance in Theory and Practice. 5th edition, McGraw-Hill,1989.
Otto Eckstein. Public Finance. Newjersey: Prentice – Itall Inc., 1964, p.21
Paul Samuelson. “The Pure Theory of Public Expenditure”. The Review of Economics and Statistics. Vol. 36, No. 4, Nov. 1954, pp. 387-389.
Peacock, Alan T. and Jack Wiseman. The Growth of Public Spending in the United Kingdom. Princeton, NJ: Princeton University Press. 1961.
Schultz, W. T. Investment in human capital: The role of education and research. New York: Free Press. 1971