แนวทางการส่งเสริมการจัดประสบการณ์แบบโครงการในห้องเรียนของเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ปาริฉัตร ไชยเดช

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะได้ศึกษาเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ การจัดประสบการณ์แบบโครงการมีทั้งหมด 3 ระยะดังนี้ 1) ระยะทบทวนความรู้และความสนใจของเด็ก 2) ระยะให้โอกาสเด็กค้นคว้าและมีประสบการณ์ใหม่ 3) ระยะประเมิน สะท้อนกลับและแลกเปลี่ยนโครงการ การจัดประสบการณ์แบบโครงการในห้องเรียนของเด็กปฐมวัยเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ในสิ่งที่สนใจ เรียนรู้ผ่านการลงมือทำ โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนในการจัดประสบการณ์ และการให้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง การจัดสิ่งแวดล้อมนอกห้องเรียนและในห้องเรียน


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง
จิราภรณ์ วสุวัต. การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาล
ตามแนวคิดคอนสตัควิสโดยใช้การจัดประสบการณ์แบบโครงการ. วิทยานิพนธ์ ค.ม.
(การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร, 2540.
เปลว ปุริสาร. การศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ :
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร, 2543.
พัชรี ผลโยธิน. เด็กปฐมวัยกับการเรียนรู้แบบโครงการ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.
วัฒนา มัคคสมัน. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามหลักการสอนแบบโครงการเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กวัยอนุบาล. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร, 2539.
. รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงการสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2544.
. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบการสอนแบบโครงการสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จํากัด, 2544.
สมสุดา มัธยมจันทร์. การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้
การสอนแบบโครงการในโรงเรียนอนุบาล สังกัดคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
สิรวรรณ ศรีพหล และพันทิพา อุทัยสุข. การสอนแบบโครงการ. นนทบุรี : สำนักเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.
สุจินดา ขจรรุ่งเรืองศิลป์ และธิดา พิทักษ์สินสุข. การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย : ตามแนวคิด เรกจิโอเอมีเลีย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2543.
Abramson, S., Robinson, R., & Ankenman, K. Project work with diverse student: Adapting curriculum based on the Reggio Emilia approach. In K.M. Paciorek, & J.H. Munro (eds.) Early Childhood Education 96/97. Pp. 173 - 178. Guilford, Connecticut: Dushkin Publishing Group, 1996.
Berk, L. E., and A. Winsler. Scaffolding Children’s Learning: Vygotsky and Early Childhood Education. Washington: National Association for the, 1995.
Hartman, A.J. Project work: Supporting children’s need for inquiry. Association for Children Education International, 1995.
Helm, J. Katz, L.G. Young Investigators: THE PROJECT APPROACH IN THE EARLY YEARS. Columbia University: Teacher College, 2001.
Knoll, M. “Faking a dissertation: Ellsworth Collings, William H. Kilpatrick, and the Project Curriculum,” Curriculum Studies, 1996.
Katz, L.G.; & Chard, S.C. Engaging Children’s Minds: The Project Approach.
Norwood: N.J. Ablex, 1994.
. Engaging Children’s Minds: The Project Approach. Norwood, NJ:
Ablex, 1995.
Trepanier - Stree, M. What’s so new about the project approach? Young children, 1995.