ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเทศบาลตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติและดาเนินงานเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการภายในเทศบาลและเปรียบเทียบการบริหารจัดการเทศบาลตามหลักธรรมาภิบาลจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรภายในเทศบาล รวม 120 คน เครื่องมือการวิจัยคือ แบบสอบถาม ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเอฟ ผลการวิจัย พบว่า ระดับการปฏิบัติและดาเนินงานเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภายในเทศบาลทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และหลักธรรมาภิบาลที่มีระดับการบริหารจัดการสูงที่สุด คือ หลักคุณธรรม รองลงมา คือ หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า และหลักการมีส่วนร่วม ตามลาดับ และบุคลากรภายในเทศบาลที่มีตาแหน่งงาน และระยะเวลาในการทางานที่ต่างกัน มีผลการปฏิบัติและดาเนินงานของสมาชิกภายในเทศบาลไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรภายในเทศบาลที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และกอง/หน่วยงานที่สังกัด ที่แตกต่างกันมีผลการปฏิบัติและดาเนินงานของบุคลากรภายในเทศบาล แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บุคลากรภายในเทศบาลที่มีระยะเวลาในการทางานต่างกัน มีการปฏิบัติและดาเนินงานเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภายในเทศบาลในทุกด้านไม่แตกต่างกัน
Article Details
References
นพพล สุรนัคครินทร์, การนาหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในองค์การบริหารส่วนตาบลตามทัศนะของประชาชนจังหวัดเชียงใหม่, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, การสร้างธรรมาภิบาล (Good Governance) ในสังคมไทย, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์วิญญูชนม, 2542
เบญจวรรณ วันดีศรี, การศึกษาความเป็นธรรมาภิบาลของนายกองค์การบริหารส่วนตาบลในจังหวัดร้อยเอ็ด, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 2549
พิทยา สุนทรวิภาต. ธรรมาภิบาลกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, วารสารดารงราชานุภาพ, 3(1) 2545, หน้า 23-28
รหัส แสงผ่อง, กระบวนการบริหารการพัฒนาท้องถิ่นตามหลักธรรมาภิบาลของกรรมการบริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลในจังหวัดจันทบุรี, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศกึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี, 2547
วาสนา ธรรมจักร, การศึกษาสภาพและปัยหาการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของข้าราชการประจาองค์การบริหารส่วนตาบลจังหวัดแพร่, การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 2551
สถาบันพระปกเกล้า, โครงการขยายผลเพื่อนาตัวชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีระดับองค์กรไปสู่การปฏิบัติ, กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2548
สาทิตย์ บุญมี, กรบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตาบลภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตพื้นที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่, วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2553
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 114 ก หน้า 48.17 พฤศจิกายน 2542
สิทธิ หลีกภัย, อย่าปล่อยให้ถุงพลาสติกครองเมือง, สาระสังเขปออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561 จากเว็ปไซต์ http://dit.dru.ac.th/home /005 Excellent/Benjawn _saraban.doc.2552) สุวิมล ติรกานันท์, การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
อรพินท์ สพโชคชัย และคณะ, โครงการศึกษารูปแบบและแนวทางส่งเสริมความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนตาบล, กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2540
Tavakol and Dennick, Making sense of cronbach’s alpha. Intermational journal of medical education 2011, p. 54