การศึกษาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์

ผู้แต่ง

  • สาธิมา ทองขุนวงศ์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • สิรินาถ จงกลกลาง ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

คำสำคัญ:

จัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์, ทักษะการฟัง, ทักษะการพูด

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ และ 2)เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนรักเมืองไทย 1 อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 15 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตามกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย  แบบทดสอบทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ การหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า

  1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
  2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากการจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

 

 

References

Aakkaranukrok, S. (1987). Teaching English.Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Academic & Educational Standards. (2005). Measurement and evaluation based on learning standards. Bangkok: Academic and Educational Standards. [in Thai]

Areeya, K. (2005). Implementation of Storyline Method to Enhance English Listening and Speaking Abilities for Fist Year English Major Students in Education (5-Years Program) of Chiangrai Rajabhat University. Thesis Master of Education, Chiang Rai Rajabhat University. [in Thai]

Aunjan, C. (2007). Use of storyline method to promote English speaking ability and self-confidence of developing level students. Thesis Master of Education, Chiang Mai Rajabhat University. [in Thai]

Daychakup, P. & Yindeesuk, P. (2002). Environmental Education by Storyline Method. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Ministry of Education. (1999). National Education Act. Bangkok: Shipping and Packing Organization. [in Thai]

Office of Teacher Development and Basic Education Personnel. (2017). PLC with Development Professional. Journal of Sorpomor.31 Find Friend Teacher, 1(1),29-39. [in Thai]

Office of Teacher Development and Basic Education Personnel. (2017). Skill 7c of Teacher. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Rak Muang Thai School 1. (2014-2016). Strategic Plan Rak Muang Thai School 1. Nakhon Ratchasima: Registration. [in Thai]

Sajatamvadee, Y. (2000). The Effects of Using Storyline and Portfolio Assessment Towards Matayomsuksa 2 Students' Achievement, Attitude and Problem Solving Skills in Soc 053 Population and Environment. Bangkok: Kasetsart University. [in Thai]

Sasanthia, U. & Jongkonklang, S. (2018). The Development of Integrated Learning Units on Welcome to Asean for Prathomsuksa 6 of The Demonstration School Nakhon Ratchasima Rajabhat University. KKU Research Journal of Humanities and Social Sciences (Graduate Study), 6(1), 61-63. [in Thai].

Sisaart, B. (2002). Research Primary. Bangkok: Suveeriyasan. [in Thai]

Tanya, S. (2013). Educational Research Methodology. Nakhon Ratchasima: Nakhon Ratchasima Rajabhat University. [in Thai]

Valette, R. M. & Desick, R. (2008). Modern Language Performance Objective and Individualization. New York: Harcourt Brace Jovanovich.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2019