การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภาษาไทยแบบโฟนิกส์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
คำสำคัญ:
ภาษาไทยแบบโฟนิกส์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, อ่านออกเสียง, ประถมศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อ พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องภาษาไทยแบบ โฟนิกส์สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อหา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สร้างและ หาค่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ภาษาไทยแบบโฟนิกส์ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลของทักษะ การอ่านออกเสียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ก่อน และหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4) เพื่อ วิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประชากรเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่กําลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จํานวน 15 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เวลาที่ใช้ ในการเรียนทั้งหมด 16 คาบเรียน งานวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ ข้อมูลโดยนําคะแนนที่ได้จากการทําแบบฝึกหัดท้ายบท และ คะแนนการทําแบบทดสอบมาคํานวณหาค่าประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และคํานวณหาค่า มัชฌิมเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัย พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 88.33/91.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนดคือ 80/80 และวิเคราะห์หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการทดสอบค่า ทีพบว่าประชากรเป้าหมายมีคะแนนทักษะการอ่านออก เสียงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
Brahmawong, C. (2013). Developmental Testing of Media and Instructional Package. Educational of Silpakorn University Research Journal, 5(1), 7-20. [in Thai]
Jalongo, M. R. 2000. Early childhood language arts. 2nd Ed. Boston: Allyn and Bacon. [in Thai]
Kaengkhan, S. (2008). Alternative: Using CAI Lessons in Development Language Skill on Parts of Speech and Word Functions for Prathom Suksa 5 Students of Doi Luang Kindergarten School under the Chiang Rai Educational Service Area Office 3. Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University. [in Thai]
Khaemanee, T. (2014). Science of Teaching. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. [in Thai]
Krongboonsri, P. (1990). Relationship between background of student background and motivation with communication competence of English language use of Mathayom Suksa six students in secondary schools under the jurisdiction of the department of general education, Bangkok Metropolis. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. [in Thai]
Kullaboot, K. (2010). Effects of using computer-assisted instruction and parent participation on reading achievement of elementary school students with reading disabilities. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. [in Thai]
Kwoatrakul, S. (2013). Educational Psychology. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. [in Thai]
Munsettawit, S. (2000). Base and Method of Teaching Reading Thai language. Bangkok: Thai Wattana Panich Publishing [in Thai]
Nitedsin, W. (2008). Media and Innovation of learning. Pathumthani: Sky Books. [in Thai]
Pengsuk, W. (2017). Development of Online computer course for grade 4 students Suphanburi kindergaten school. Kasetsart Educational Review. 32(1), 7-13. [in Thai]
Rayanasuk, P. (1992). Problems of Pronounciation Thai Language: Using solving speaking disabilities. Bangkok: Srinakarinwirot University. [in Thai]
Sangpiansuk, P. (1997). Pattern of Teaching Reading Comprehension. Bangkok: OS Printing. Quarterly. 26, 50-60. [in Thai]
Sukamolsan, S. (2001). Constructing and developing a multi-media computer-assisted instruction program for teaching foundation English I. Research Report. Chulalongkorn University. [in Thai]
Ukrainetz, T. A., Nuspl, J. J., Wilkerson, K. & Beddes, S. R. (2011). The effects of syllable instruction on phonemic awareness in preschoolers. Early Childhood Research.
Wattananaring, K. (2006). Educational Profession Technology. Bangkok: Sintawee Publishing. [in Thai]
Wiboonsarin, W. (2013). Innovation and Instructional Media for Thai Language. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing. [in Thai]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)