การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าในบ้าน

ผู้แต่ง

  • ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ
  • Oraya_58 Somboon คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน, การคิดอย่างมีวิจารณญาณ, การวิจัยผสมผสานวิธี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ศึกษา นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 38 คน การวิจัยครั้งนี้ใช้กรอบแนวคิดวิจัยผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) มีการเก็บข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) และการเก็บข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องไฟฟ้าในบ้าน แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแบบบันทึกกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาตามกรอบโครงการการประเมินผลระดับนานาชาติ PISA ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนวิเคราะห์สถานการณ์ มีการวางแผน สืบค้นข้อมูลก่อนตัดสินใจ ประกอบกับนักเรียนได้ทำงานกลุ่มในการออกแบบการ คาดคะเนคำตอบ ระหว่างการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้นักเรียนมีพัฒนาการในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในระดับที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง

References

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based
Learning): รายวิชาการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู.
วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ พระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 180-182.
กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดชและคณะ. (2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อ
ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสาร
มหาวิทยาลัยนครพนม, 5(2), 26-27.
จิรพรรณ เฟื่องประยูร. (2558). การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.
มหาวิทยาลัยบูรพา.
ดวงใจ ชาวโพธิ์, ไพโรจน์ เตมิเตชาติพงศ์. (2560). การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารในชีวิตประจำวัน สำหรับนักเรียน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. รายงานสืบเนื่องการ
ประชุมสัมมนาวิชาการ(Proceedings).
ธัญญาพร สังประพน สุนี โชติดิลก และดร.ศศิเทพ ปิติพรเทพิน. (2558). การพัฒนาแนวคิด
วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจำาวันโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสังคม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นวภัทร ตระกูลพรและนิลมณี พิทักษ์. (2558). การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและทักษะการ แสวงหาความรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based Learning) ร่วมกับการเรียน
แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มสืบสวนสอบสวน (Group Investigation). วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(4), 97-98.
นายศุภฤทธิ์ ไชยเลิศ. (2558). ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน. พิฆเนศวารสาร, 11(2), 87-90.
พิมพ์ใจ เกตุการณ์สพลณภัทร์ ศรีแสนยงค์และสมศิริ สิงห์ลพ. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ความสามารถใน
การแก้ปัญหา และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(1), 82-83.
วราพรรณ สุกมาก อาพัทธ์ เตียวตระกลู และอังคณา อ่อนธานี. (2560). การพัฒนากิจกรรมการ
เรียนรู้โดยใช้ปัญหาตามสภาพจริงเป็นฐานเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอันล้ำาค่าสำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพิบูลสงคราม, 11(1), 178-179.
ศิขรินทร์ธาร โคตรสิงห์ ประวิต เอราวรรณ์ และ มนูญ ศิวารมย์. (2557). การพัฒนารูปแบบการ
สอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับพัฒนาทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีทีี่ 1.วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา. 11(2), 42-43.
สสวท. (2561). ผลการประเมิน PISA 2015 วิทยาศาสตร์ การอ่าน และคณิตศาสตร์ ความเป็น
เลิศและความเท่าเทียมทางการศึกษา, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำราญ ดวงตาน้อยและน้อยทิพย์ ลิ้มยิ่งเจริญ. (2559). การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุและ สมบัติของวัสดุของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ (Inquiry Cycle). วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 32(1), 96-98.
สุรีย์วัลย์ พันธุระและสุมาลี ชูกำาแพง. (2561). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ
จัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐานร่วมกับประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่อง การ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5.
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(3), 199-200..
Chailerd, S. (2015). Problem Solving Ability of Grade 6 Students Through
Problem-based Learning. Ganesha Journal, 11(2), 87-90. [in Thai]
Chawpo, D., Termtachatipongsa P. (2017). The Development of critical thinking ability
and learning achievement on substances in daily life for grade vii students
using problem based learning. (master thesis). Khon Kaen University. [in Thai]
Creswell, J. W.;& Plano Clark, V. L . (2011). Designing and conducting mixed
methods research. 2nded. Thousand Oaks, CA: Sage.
Dungtanoy, S., limjarang, N. (2016). Crirical Thinking and learning achievement in the
science topic of “Material quality of material” of prathomuksa V students using
inquiry cycle techniques. Journal of Education Khon Kaen 32(1), 96-98. [in Thai]
Faungprayoon, J. (2015). The study of the effects of problem-based-learning
Achievement and Sciectific attitudes of Pratomsuksa VI Students.
(master thesis). Chonburi: Burapha University. [in Thai]
Katkarn, P., Srisanyong, S.,& Singlop, S. (2017). The effects of problem-based learning
for developing science learning achievement, problem solving abilities and
scientific attitude of prathom suksa 6 students. Journal of Education Naresuan
University, 19(1), 82-83. [in Thai]
KhotsingPrawit, S., Erawan, P., & Siwarom, M. (2014). Development of a Science
InstructionModel Based on Problem-Based Learning to Enhance Problem
Solving Skills of Grade Seven Students. Research Methodology & Cognitive
Science, 11(2), 42-43. [in Thai]
Klomim, K. (2017). How to learning Problem Based Learning: coursed design and
development coursed for students teachers. Journal of graduate studies
Valaya Alongkorn Rajabhat University, 11(2), 180-182. [in Thai]
Phettaweeporndech, K., Kerdtham, C., Sriharun B., & Kongthong U. (2015). The
Development of a Science Instruction Model to PromoteCritical Thinking of
Upper Secondary School Students. Nakhon Phanom University Journal,
5(2), 26-27. [in Thai]
Pisa Thailand. (2018). Programme for InternationalStudent Assessment. The institute
for the promotion of Teaching Science and Technology, Bangkok. [in Thai]
Puntura, S., Chookhampaeng S. (2018). The Development of Critical Thinking by Using
Problembased Learning Activity with Socioscientific Issue of Genetics Changes
and Biotechnology for Matthayomsueksa 5 Students. Journal of Education
Mahasarakham University, 12(3), 199-200. [in Thai]
Sangprapon, T., Chotidilokt, S., & Pitiporntapin S. (2015). Development of Grade 6
Students’ Scientific Concepts of Chemical Agents in Daily life Using Science,
Technology, and Society (STS) Approach. Khon Kaen University. [in Thai]
Sukmak, W., Tiaotrakul, A., & Onthanee, A. (2017). Development of Learning Activities
by usingAuthentic Problem Based Learning to Enhance Critical Thinking Ability
on the Topic of Natural Environment Conservation for Grade 6 students.
Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram
Rajabhat University, 11(1), 178-179. [in Thai]
Tragoolporn, N., Pitak, N. (2015). The development of Critical Thinking Ability and
Inquiry Skills of Grade 11 Students using Problem Based Learning Together with
Group Investigation. Journal of education khon Kaen University, 38(4), 97-98.
[in Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31