ความรู้และทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทย ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ในกรุงเทพมหานคร
ความรู้และทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทย ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ในกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ความรู้ ทัศนคติ เครื่องหอมไทยบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความรู้ และทัศนคติของนักศึกษาต่อเครื่องหอมไทย และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับเครื่องหอมไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 300 คนใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอนแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาเกือบสามในสี่เป็นเพศหญิงเกือบสองในห้าเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3มากกว่าสามในห้าเล็กน้อยผ่านการเรียนวิชาเครื่องหอมและของชำร่วยเกือบครึ่งหนึ่ง (45.3 %) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม 3.5ขึ้นไปครอบครัวของนักศึกษามากกว่าครึ่งเล็กน้อยมีรายได้ต่อเดือนมากกว่า20,000 บาทนักศึกษาเกือบครึ่งหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิชาเครื่องหอมจากสื่อออนไลน์
ผลการศึกษาพบว่านักศึกษาเกือบสองในสามมีความรู้เกี่ยวเครื่องหอมไทยระดับปานกลาง ในขณะที่นักศึกษาสามในสี่มีทัศนคติที่ดีต่อเครื่องหอมไทยการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทยพบว่าความรู้มีความสัมพันธ์กับทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทยเชิงบวกในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความรู้ด้านกระบวนการผลิตมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางกับทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01ความรู้ด้านประโยชน์ของเครื่องหอมไทยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติที่มีต่อเครื่องหอมไทยในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
References
Amata Detcha, S. (1993). Fragrances and Favours. Sri Siam Printing Company Limited.
Bunyasai, C.(1995). Teaching Materials for Fragrances and Souvenirs.
Bangkok. RajamangalaInstitute of Technology Phranakorn Campus.
Chongjai, N.(1994). Spa and Health. 1st edition, Bangkok: Kampkaew.
Chumkaew, K. (2012). Knowledge, Attitude and Food Consumption Behavior of the Elderly
inSongkhlaProvince. Master of Arts Thesis, Home Economics Education, Kasetsart University.(In Thai).
Dechakaisaya, K. (2013).Interview, 15 September 2013.
Jumnongkam, I. (2011). Factors Affecting the Attitude towards Heterosexual Friendships of
Public University students in Bangkok. Master of Arts Thesis, Home Economics Education, Kasetsart University.(In Thai).
Khueangcharoen, B.(2009).Thai Fragrances. Inheriting the Culture Exceptionally Thai
Wisdom.Bangkok: Diamond Karat Publishing Company Limited.
Klinchampa, N. andTontaptimtong, P. (2011)Development of Smoke
Equipment Set, Smoke MachineIn Thai Aroma Production. KruThepMahaNakhon: Rajamangala University of Technology Krungthep.
Muangyot, S. (2014).Interview, 7 August 2014.
Natsritao, O. (2012).Knowledge, Attitude and Consumption Behavior of 5 Colors
Vegetables of Secondary School Students in Bangkok. Master of Arts Thesis,
Home Economics Education, Kasetsart University.(In Thai).
Petchkaew, N.(2013). Interview, 7 August 2014.
Pho Nimdaeng, B.(2001). Follow up on Short term Vocational Training,
Fragrances Program of Gift of Rajamangala Institute of Technology. Master of Education in Industrial Education Vocational Administration and Technical Education, King Mongkut's Institute of Technology North Bangkok.
Poomsawai, A.(2013). Teacher Profession. 3. Interview, 29 July 2013.
Rangsuksukarn, M.(1984).Making Traditional Thai fragrances. Bangkok.
SrihaWatthanakun, P.(2014).Deputy Dean of Faculty of Engineering Interview,
9 April 2014.
Solot, A.(2014). Deputy Dean, Interview, 9 April 2014.
Thaweesin, S.(2002).Educational Psychology. Faculty of Industrial Education,
UniversityKing Mongkut's Institute of Technology Thonburi (reproduce).
Uthaisar, C. (2006).Knowledge, Attitude and Consumption Behavior for Healthy
Products: A Case Study of Employee of Mobile Phone Service Company, Master of Science thesis, Department of Industrial Psychology,Kasetsart University. Cited to Schwartz, N. E. 1975. Nutrition Knowledge Attitude and Practices of High School Graduates. Journal of the American Dictelic Association. 66 (January 1975).
Wiriyakitpattana, K.(2007).Consumer Behavior. Bangkok: Wang Aksorn Publisher.
Wongsiranak, N.(2017).Relationship between Knowledge and Attitudes toward Home
Economics Profession of Mathayomsuksa 6 Students in Ranong Province. Master of Arts Thesis, Home Economics Education, Kasetsart University.(In Thai).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)