แนวทางในการพัฒนางานหัตถกรรมจากย่านลิเภาสู่เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช

ผู้แต่ง

  • ชุติวรรณ อาจหาญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นฤมล ศราธพันธุ์ ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุวิมล อุไกรษา ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

คำสำคัญ: ย่านลิเภา, งานหัตถกรรมจากย่านลิเภา, เศรษฐกิจสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การดำเนินงานของกลุ่มงานหัตถกรรมจากย่านลิเภา          2 ) แนวทางในการพัฒนางานหัตถกรรมจากย่านลิเภาสู่เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช      เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ  ผู้ให้ข้อมูล 1) ผู้นำกลุ่ม จำนวน 3 คน 2) สมาชิกกลุ่มงานหัตกรรมจากย่านลิเภา จำนวน 9 คน 3) เจ้าหน้าที่ภาครัฐจำนวน 2 คน และ 4) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านงานหัตถกรรม จำนวน  3 คน      การเก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา

          ผลการวิจัยพบว่า 1) การดำเนินงานของกลุ่มงานผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมย่านลิเภา ออกแบบผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของลูกค้า ไม่มีการใช้เทคโนโลยีในการผลิต จำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งที่กลุ่ม ผ่านออนไลน์      งานแสดงสินค้า หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนการอบรม และแนะนำแหล่งเงินทุน ปัญหาและอุปสรรคใน  การดำเนินงานกลุ่ม คือวัสดุไม่เพียงพอ ผู้จักสานมีจำนวนน้อย ใช้เวลานานในการทำชิ้นงาน และการจัดระบบการตลาด 2) แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์งานหัตถกรรมจากย่านลิเภา มี 4 ด้าน คือ ด้านการผลิตที่ควร  ตามความต้องการของลูกค้า และคงความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิม  ด้านการตลาด ควรวิเคราะห์สื่อและวางแผนการตลาด  ด้านการดำเนินงานกลุ่มควรจัดทำข้อมูลจัดระบบผลิตภัณฑ์ และการถ่ายทอดภูมิปัญญา และด้านการสนับสนุนและส่งเสริมจากภาครัฐ ควรผลักดันขีดความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และพัฒนาตลาด  ของผู้ผลิตและผู้ประกอบการ

 

 

References

Chanpluluang, B. (2002). Shadow Play and Wisdom of Nakhon Si Thammarat People. Bangkok: Thai Watthanaphanitt. (in Thai)
Chuabamrung, T. (2011). Wisdom for Creative Local Development. Bangkok :
King Prajadhipok’s Institute. (in Thai)
Kiatnakin, S. (2010). Creative Capital for Creative Economy. Bangkok: Wiline. (in Thai)
Kongkaew, M., Jaiman, P., Pongsakornrungsil, S. 2015. Economic Strategy
Creating Crafts and Handicrafts of Community Products “. Ratchaphruek Journal. (May – August 2015): 41 – 50. (in Thai)
Kunmala, A. (2009). A Study of Guidelines for the Development of Wood Waving Folk Handicraft Products. Doctor of Philosophy. Culture Science Program, Mahasarakham University. (in Thai)
Mansa C. (2005). Koh Yo Native Fabrics: A Case Study of Ratchawat Saeng Song La Te Nung Koh Yo Subdistrict, Mueang District, Songkhla Province. Master of Art. Home Economics Education Program, Kasetsart University. (in Thai)
Naewhaentham, K. R. (2017). Guidelines for the Development of Local Wisdom Products for
Promote Creative Economy In Nakhon Pathom Province. Humanities, Social Sciences and Arts Journal. (January-April 2017): 994 - 1013.
Office of the National Economic and Social Development Board. (2018). The Twelveth National Economic and Social Develop Plan (2017 - 2021). https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422. 12/12/2017 (in Thai)

.. 2009. Preliminary Study Report: The Creative Economy. Bangkok: B.C. Press (Boonchin). (in Thai)
Pornpipatt, P. 2010. “Creative Economy: The New Driving Force of Thai Economy”. Economy and Society Journal. (October – December 2010): 6 – 18. (in Thai)
Wisutichanan, C. 2014. Participation in the Conservation of Local Wisdom in Khlong Den Subdistrict, Ranot District, Songkhla Province. Master of Public Administration. Public and Private Management Program, Hattyai University. (in Thai)
Wongtee, S. 2007. Strategies for the Development of the Ancient Fabric Industry in Uthai Thani Province. Master of Science. Business Economics Program, Kasetsart University. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-10-2020