การเลือกกลุ่มลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวเพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี

Main Article Content

พิสิษฐ์ บึงบัว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลตอบแทนการลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term


Eoulty fund : LTF) ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกรณีไม่มีนโยบายจ่ายเงินปันผล พร้อมทั้งพิจารณาเลือกกลุ่มลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวเพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี ภายใต้นโยบายของการลงทุน 4 รูปแบบได้แก่ (1) ไม่มีการกำหนดสัดส่วนขั้นตำหรือขั้นสูงของการลงทุนในแต่ละกองทุน (2) มีการกำหนดสัดส่วนขั้นต่ำของการลงทุนในแต่ละกองทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10.00 (3) มีการกำหนดสัดส่วนขั้นสูงของการลงทุนในแต่ละกองทุนไม่เกินกว่าร้อยละ 40.00 และ (4) มีการกำหนดสัดส่วนขั้นตำและขั้นสูงของการลงทุนในแต่ละกองทุนระหว่างร้อยละ 10.00-40.00 ผลการวิจัยพบว่า จำนวนกองทุนรวมหุ้นระยะยาวกรณีไม่มีนโยบายจ่ายเงินปันผล ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2561 มีทั้งหมด 42 กองทุน และจากการศึกษาผลตอบแทนของกองทุนรวมหุ้นระยะยาวย้อนหลัง 7 ปี (พ.ศ. 2554-2560) พบว่า กองทุนที่มีการจัดตั้งมาไม่น้อยกว่า 7 ปี มีจำนวน 25 กองทุนโดยมีผลตอบแทนเฉลี่ยอยู่ระหว่างร้อยละ 5.63-14.53 ต่อปี สำหรับการวิเคราะห์การเลือกกลุ่มลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวได้ประยุกต์ใช้แบบจำลองการเลือกกลุ่มลงทุน (Portfiolio Selection Model) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Solver ในโปรแกรม Microsoft Excel เมื่อกำหนดผลตอบแทนที่คาดหวังไม่น้อยกว่าร้อยละ 14.00ต่อปี ภายใต้นโยบายการลงทุนทั้ง 4 รูปแบบ พบว่า ความเสี่ยงในการลงทุนเรียงล่าดับจากน้อยไปมาก ได้แก่นโยบาย (1), (3), (2) และ (4) โดยมีความเสียงในการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 15.73, 15.83, 15.89 และ 15.93 ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมสรรพากร. (2560). ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. สืบค้นจาก http://www.nd.go.th/oulblish/309.0.html

จิรัตน์ สังข์ แก้ว. (2547). การลงทุน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณฐพงศ์ สารธรรม. (2551). การคัดเลือกกลุ่มการลงทุนโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมร่วมกับเจเนติกอัลกอริธึม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558). LTF คืออะไร . สืบค้นจาก https:/wwwww.Set.or.th/education/th/begin/mutiualfund_content08.pdf

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมบริษัทจัดการลงทุน. (2561). ข้อมูลมูลค่าหน่วยลงทุน (NAV). สืบค้นจาก httip://wwwwwthaimutualfund.com/AIMC/aimc_navCenterSearch3.jsp

ธนัฐ ศิริวรางกูร. (2559). 5 ค่าถามยอดฮิตกับการลงทุนในกองทุนรวม LTF/RMF. สืบค้นจาก https://www.finnomena.com/ dr-nut/5-question-ltf-rmf/

นวพรรณ์ เอามธุรพจน์. (2553). การสร้างกลุ่มหลักทรัพย์ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามทฤษฎี กลุ่มหลักทรัพย์ของ Marlkowitz. (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

พรอนงค์ บุษราตระกูล. (2548). การลงทุน: พี้นฐานและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภมร ดวงศศิธร. (2555).การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลตอบแทนของการลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว. (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).

ราชกิจจานุเบกษา. (2559). กฎกระทรวงฉบับที่ 317 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร. สืบค้นจาก http://ww.ratchaktcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/058/4.PDF

วราพงษ์ สุดวง. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า SET50 Index Futures และการลงทุนในกลุ่มลงทุนประสิทธิภาพของมาร์โควิทซ์. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

ศจี ปทุมวงค์ขัยสิริ. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกนโยบายการลงทุนในกองทุนสำรองเลี่ยงชีพของพนักงานธนาคารกรุงไทย เขตกรุงเทพมหานคร. (งานนิพนธ์ปริญญามหาบัณทิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

สมลักษณ์ บุญโกมล. (2550). การเปรียบเทียบผลการดาเนินงานจากการลงทุนในกองทุนรวมจำแนกตามนโยบายการลงทุน. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

สมาคมบริษัทจัดการกองทุน (2561). สถิติการเจริญเติบโตของธุรกิจการจัดการกองทุนรวมที่เป็นกองทุนหุ้นระยะยาว. สืบค้นจาก http:/oldweb.aimc.or.th/21_infostats_rmfltfi.php?fund=ltf#

สุนทรี จึงประเสริฐกุล. (2551) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจลงทุนในกองทุนรวมประเกทกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของนักลงทุนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

เอกราช ลิ้มวัฒนา. (2557). ประสิทธิภาพแบบมาร์โควิทซ์ของทุนรวมที่ลงทุนในหุ้น : กรณีศึกษาตลาดทุนไทย. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).

Azzarello, S. (2017). Get invested, stay invested: Preparing for market volatility. Retrieved from https://am.jpmorgan.com/us/en/asset-management/gim/adv/insights/navigat-
ing-volatlity

Castellano, R. and Cerqueti, R. (2014). Mean-variance portfolio selection in presence of infrequently traded stocks. European Journal of Operational Research, 234(2),
442-449.

Clarke. R., Silva, H. and Thorley, S. (2013), Risk parity, maximum diversification, and minimum variance: An analytic perspective. The Journal of Portfolio Management, 39(3), 39-53.

Hernandez, J.A. (2014). Are oil and gas stocks from the Australian market riskier than coal and uranium stocks? Dependence risk analysis and portfolio optimization. Energy Economics, 45, 528-536

Lai, T.L., Xing, H. and Chen, Z. (2009). Mean-variance portfolio optimization when means and covariance are unknown, Technical report no. 2009-8 5upported by the national science foundation. Department of statistics, Stamford University.

Martensson, J. (2005), Portfolio optimization-improved risk-adjusted return?. Thesis Work Economics D, Department of Economics, Uppsala University.

Starke, T., Edwards, D. and Wiecki, T. (2015). The Efficient frontier: Markowitz portfolio optimization in Python. Retrieved from http:/blog.quantopian.com/markowitzport-
foliooptimization-2/