พุทธธรรมกับการพัฒนาตนเองในเชิงรัฐประศาสนศาสตร์

Main Article Content

พิเชษฐ์ ศรีสุข
สัญญา เคณาภูมิ

บทคัดย่อ

การพัฒนาตามแนวทางพุทธศาสนารวมแล้วเป็นการพัฒนากาย วาจา และใจ บนพื้นฐานของหลักการ ไม่ทำบาปทั้งปวง การทำกุศลไห้ถึงพร้อมการทำใจไห้บริสุทธิ์ หลักพุทธธรรมกับการพัฒนาตนเองประกอบด้วยมรรคมีองค์แปด ได้แก่ ความเห็นชอบ ดำริชอบ วาจาชอบ กระทำชอบ เลี้ยงชีพชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ และ ตั้งใจมั่นชอบ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คุณวัฒน์ ดวงมณี และ พระธงชัย ขนฺติธโร. (2560). การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ. สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ

ฌาน ตรรกวิจารณ์. (2560) แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรเชิงพุทธ. {ออนไลน์}. ค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2561,จาก http://wwwsakchai.blogspot.com/2011/03/blog-post_12.html

บุษกร วัฒนบุตร. 2558. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยพุทธบูรณาการ. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์,41 (1), 39-40.

ปกรณ์ ปรียากร. (2538) ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในการบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2538).

พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พุทธธรรมการพัฒนาชีวิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมสภา. (2540).

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตโต). (2539). พระพุทธศาสนาไทยในยุคโลกาภิวัฒน์. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

พุทธทาสภิกขุ. (2530). เคล็ดลับความสุขคือทำในใจให้ถูกต้อง. กรุงเทพฯ: ธรรมนูญ.

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). การพัฒนาชุมชน: จากทฤษฏีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ว.วชิรเมธี . (2552). มองลึกมองไกลใจกว้าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทเอมี่ เอ็นเตอร์ไพรส์จำกัด.

ว.วชิรเมธี.(2550). ธรมมะงอกงาม พิมพ์ครั้งที่ 11. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง. กรุงเทพฯ.สํ.นิ. 16/224-5/110-1

สนธยา พลศรี.(2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.