การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) จากการศึกษาชั้นเรียน

Main Article Content

นภาพร วรเนตรสุดาทิพย์

บทคัดย่อ

การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)  จากการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) เป็นการพัฒนาวิชาชีพ การศึกษาชั้นเรียนต้องอาศัยการรวมกัน การร่วมใจ ร่วมพลังร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ และนักการศึกษา  มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน และคุณภาพการศึกษา การศึกษาชั้นเรียนจะเปิดโอกาสให้สมาชิกได้ใช้กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ การถอดบทเรียน การสืบสอบเพื่อสะท้อนผลเชิงวิชาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งค่านิยม วิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และประสบการณ์การปฏิบัติส่วนบุคคลร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จากแนวคิดของการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพครูสำหรับการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยใช้การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) จึงมีแนวทางหลัก ประกอบไปด้วย การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน  การสังเกตการสอนร่วมกัน  และการสะท้อนผลบทเรียนหลังการสอนร่วมกัน  ระหว่างนักวิจัย ผู้ช่วยวิจัย และครู   การนำแนวทางหลักของการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพครูใช้การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) ไปปฏิบัติจะช่วยพัฒนาครู ผู้เรียน และสัมพันธภาพของบุคลากรในสถานศึกษาได้พร้อมกัน และส่งผลให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องและสมบูรณ์ ในการพัฒนาวิชาชีพครูที่ยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรัณย์พล วิวรรธมงคล (2561). รูปแบบการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมความสามารถจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, หน้า 11(3).

นฤมล อินทร์ประสิทธิ์.(2552). การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study): นวัตกรรมเพื่อพัฒนาครูและนักเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นภาพร วรเนตรสุดาทิพย์.(2554) .การศึกษาชั้นเรียน (Lesson study): แนวคิดใหม่ในการพัฒนาวิชาชีพครู Lesson Study: A New Concept for Teacher Professional Development.วารสาร วิจัย มข : ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม-กันยายน 2554 หน้า 86-99. KKU Research Journal : Vol.1 No.2 July-September 2011, pp. 86-99.

ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์ ( 2552).เอกสารโครงการพัฒนาวิชาชีพครูคณิตศาสตร์ด้วยนวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน และวิธีการแบบเปิด. โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น.

ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์.( 2559).เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการและกิจกรรมเปิดชั้นเรียนระดับชาติ ครั้งที่ 10 ในโครงการพัฒนาการคิดขั้นสูงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น .จังหวัดขอนแก่น. หน้า 17-36.

ราชบัณฑิตยสภา. (2558). พจนานุกรม ศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

เรวณี ชัยเชาวรัตน์ .(2558). ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ( Professional Learning Community : PLC) 9วิถีสร้างครูสู่ศิษย์ เอกสารประมวลแนวคิดและแนวทางพัฒนาวิชาชีพครูสำหรับคณะทำงานโครงการพัฒนาระบบกลไกและแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน,1-10.

วิจารณ์ พานิช. (2554). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชั่นจํากัด.

แสงรุนีย์ มีพร. (2563). ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ :เส้นทางสู่การพัฒนาวิชาชีพครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 14(12),

แสงสุรีย์ ดวงคำน้อย. (2561). การเรียนเชิงรุก : กิจกรรมท้าทายผู้เรียนในยุคการศึกษา 4.0. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(3), 61-71.

DuFour, R. (2007). Professional learning communities: A bandwagon, an idea worth considering, or our best hope for high levels of learning?. Middle School Journal (J1), 39(1): 4-8.Hord, S. M., Roussin, L. and Sommers, W.A. (2009). Guiding professional learning communities: Inspiration, challenge, surprise, and meaning. Corwin Press.

Isoda, M., et al. (2006). Japanese Lesson Study in Mathematics: Its Impact, Diversity and potential for Educational improvement. World Scientific Publishing Co.Pte.Ltd.

Inprasitha, M.. (2006). Open-ended Approach and Teacher Education. Tsukuba Journal of Educational Study in Mathematics, 25, 169-177.

Kim, V., Douch, M., Thy, S., Yuenyong, C., and Thinwiangthong, S. (2019). Challenges of implementing Lesson Study in Cambodia: Mathematics and Science Teaching by using Lesson Study at Happy Chandara School. Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1), 012071

Phaikhumnam, W. and Yuenyong, C. (2018). Improving the primary school science learning unit about force and motion through lesson study. AIP Conference Proceedings. 1923, 030037-1 – 030037-5.

Shimizu,S. (2006). Professional Development through Lesson Study: A Japanese Case. Paper presented at APEC International Symposium on Innovation and Good Practice for Teaching and Learning Mathematics through lesson Study. Khon Kaen Session.

Sotirhos, S. K. (2005). Lesson Study in U.S. context: A case of professional community building. (Ed.D. Dissertation). New York: New York University.

Thana, A., Kulpatsorn, S., and Yuenyong, C. (2018). Building up STEM education professional learning community in school setting: Case of Khon Kaen Wittayayon School. AIP Conference Proceedings. 1923, 030067-1 – 030067-6

Woranetsudathip, N. and Yuenyong, C. (2015). Enhancing grade 1 Thai students’ learning about mathematical ideas on addition through lesson study and open approach. Mediterranean Journal of Social Sciences, 6(2S1), 28-33.

Woranetsudathip, N., Yuenyong, C., and Nguyen, T.T. (2021). The innovative lesson study for enhancing students’ mathematical ideas about addition and subtraction through open approach. Journal of Physics: Conference Series, 1835 (1), 012061

Yoshida, M. (2004). An overview of Lesson Study. In Building our understanding of lesson study (pp.1-12). Philadelphia: Research for better schools Inc.