นวัตกรรมการบริการ: กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างของธุรกิจบริการ

Main Article Content

มนษิรดา ทองเกิด

บทคัดย่อ

นวัตกรรมการบริการถือเป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่สร้างความแตกต่างของธุรกิจบริการ พบว่า         ในองค์กรธุรกิจปัจจุบัน มักจะมีการสร้างสิ่งใหม่ ความคิดใหม่ สิ่งแปลกใหม่ ด้วยวิธีการใหม่ๆ เพื่อตอบโจทย์คำว่า นวัตกรรมการบริการ ให้กลายเป็นจุดเด่น และสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและบริการ    ซึ่งสามารถพัฒนาให้เกิดความแตกต่างและตอบโจทย์กับทุกธุรกิจให้อยู่รอด และเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ดังนั้น สามารถสรุปประเด็นกลยุทธ์ในการสร้างความแตกต่างของธุรกิจบริการ ที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนำมาพิจารณาเป็นกลยุทธ์ คือ (1) นวัตกรรมการพัฒนาองค์กรธุรกิจ ประกอบด้วย รูปแบบของรายได้และกำไร การจัดการภายในองค์กร และพันธมิตรและเครือข่ายธุรกิจ  (2) นวัตกรรมการพัฒนาสินค้าและบริการ ประกอบด้วย คุณสมบัติของสินค้าและบริการ และระบบนิเวศทางธุรกิจ (3) นวัตกรรมการบริการกับลูกค้า ประกอบด้วย การสร้างภาพลักษณ์ การเข้าถึงลูกค้า และบริการเสริม ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นกลยุทธ์ เพื่อให้ลูกค้าที่รับบริการด้วยเทคนิคต่างๆ สามารถสร้างความแตกต่างด้วยนวัตกรรมการบริการ และนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรุงเทพธุรกิจ. SMEs กับนวัตกรรมการบริการ 2564. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/915164.

ฐิตา เภกานนท์. (2563). ภาคบริการไทยเปลี่ยนให้ปัง ปรับให้โดน. Trade in Value Added. สืบค้น เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2564, จากhttp://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearchPages/FAQ167.aspx.

บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำกัด. (2555). ประหยัดต้นต้นการ ดำเนินการด้วย Solution จาก UIH. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก http://www.uih.co.th/knowledge/view/542.

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563). Case Study: กลยุทธ์การตลาดของ Netflix. สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2564, จาก http://www.popticles.com/case-study/case-study-netflix-Marketing strategy/.

ปรีดา ยังสุขสถาพร. (2555). Innovation คิดจริง ทำได้. กรุงเทพฯ: สมาคมนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา.

พงศ์ศรันย์ พลศรีเลิศ. (2556). ความต้องการของลูกค้า ธงสำคัญทางการตลาด. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564, จาก http://phongzahrun.wordpress.com/.

มาโคโตะ ยูซูอิ. (2555). นวัตกรรมการบริการ (Service Innovation) เบื้องหลังความสำเร็จของเซเว่นอีเลฟเว่น เจแปน และธุรกิจบริการยุคใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). (ชไมพระ สุธรรมวงศ์ และบัณฑิต โรจน์อารยานนท์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

วลัยลักษณ์ รัตนวงษ์, ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ ธีรศักดิ์ จินดาบถ. (2557). การวัดนวัตกรรมการบริการของธุรกิจท่องเที่ยวไทย: วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(1),119-146.

สุทธิกร กิ่งแก้ว. (2563). 8 นวัตกรรมตอบโจทย์ธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ 1987 จำกัด.

แสงอรุณ วรากุลศิริศักดิ์ และ อุมาวรรณ วาทกิจ. (2564). คุณภาพการบริการที่มีความสัมพันธ์กับการ สื่อสารแบบบอกต่อของธุรกิจสปาในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 11(1), 87-99.

Chen, Y.G., Chen, Zi-Hui., Ho, J.C. and Lee, Chung-Sing. (2009). In-depth Tourism’s in Fluencies on service innovation. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 3(4), 326-336.

Drejer, I. (2004). Identifying Innovation in Surveys of Services: A Schumpeterian Perspective. Research Policy, 33(3), 551-562.

Drucker, Peter F. (2005). The Effective Executive in Action. Australia: Wadsworth.

Kotler, P. (2003). Marketing Management (11th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Schumpeter, J. (1934). The Theory of Economic Development. (Reproduced, New York:1961). Cambridge: Harvard University Press.