สภาวะอากาศร้อนกับการฝึกซ้อมและการแข่งขันกรีฑา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัญหาสภาพอากาศร้อนในประเทศไทยที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงขึ้นจนมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชากรในประเทศโดยเฉพาะโรคที่เกิดจากความร้อนซึ่งมีอาการตั้งแต่เล็กน้อยจนรุนแรงถึงเสียชีวิต การฝึกซ้อมการแข่งขันกีฬาต่าง ๆ ควรคำนึงถึงวิธีการป้องกันความเสี่ยงนี้ในการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อใช้เป็นปัจจัยรวมเกณฑ์ความปลอดภัยในการวางแผนการจัดกิจกรรม และเตรียมความพร้อมสำหรับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างหรือหลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมกลางแจ้งหรือในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศร้อนปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในเรื่องความปลอดภัยของผู้ออกกำลังกายจากสภาพอากาศร้อนประกอบด้วย 1) กลไกในการปรับตัวของร่างกายในการฝึกซ้อมและการแข่งขันกรีฑาในสภาวะอากาศร้อน 2) ปัจจัยสุขภาพที่เกี่ยวข้องการฝึกซ้อมและการแข่งขันกรีฑาในสภาวะอากาศร้อน 3) การป้องกันความเครียดจากสภาวะอากาศร้อน และ 4) ข้อควรปฏิบัติในการฝึกซ้อมและการแข่งขันกรีฑาในสภาวะอากาศร้อน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมพลศึกษากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2557). คู่มือผู้ฝึกสอนกรีฑาT-Certificate (พิมพ์ครั้งที่ 1).กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
กัญญา เกสรพิกุล, ปรีชา ดิกวุฒิสิทธิ์ และ วรพล แวงนอก. (2564). รูปแบบการพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนการมีส่วนร่วมของชุมชนและแรงสนับสนุนทางสังคมในการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุที่มีความดันโลหิตสูงในอำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา.วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(2), 181-196.
ฉัตรชาติไชย ปิตยานนท์. (2552). การศึกษาสภาพอากาศ อุณหภูมิร่างกายและการตอบสนอง ทางระบบหัวใจและหลอดเลือดในระหว่างการออกกำลังกายกลางแจ้งในชั่วโมง พลศึกษาของเด็กนักเรียนชายโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทัศน์พงษ์ ตันติปัญจพร. (2562). ความร้อน:ผลกระทบต่อสุขภาพการตรวจดัชนีค่ามาตรฐาน และการปรับตัวให้ทนกับสภาพความร้อน. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 11(3), 1-16.
Tnn online. (2564). ก๊าซเรือนกระจกทุบสถิติโลก เหมือนย้อนไปสมัย 3-5 ล้านปีก่อน โลกเสี่ยงอุณหภูมิสูงเกิน 2 องศาเซลเซียส. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2564, จาก https://www.tnnthailand.com/news/world/94725
สถานีโทรทัศน์ไทยPBS. (2562, 1 ตุลาคม). "นาซา" เตือนโลกอยู่ในช่วงครึ่งทศวรรษร้อนที่สุดรอบ 120 ปี[ข่าวสิ่งแวดล้อม]. สืบค้นจาก, https://news.thaipbs.or.th/content/284750
American Academy of Pediatrics, Council on Sports Medicine and Fitness. (2000). Climatic heat stress and the exercising children and adolescents. Pediatrics, 106, 158-159.
Binkley, H. M., Beckett, J., Casa, D. J., Kleiner, D. M., and Plummer, P. E. (2002). National athletic trainers’association position statement: exertional heat illnesses. Journal of Athletic Training, 37(3), 329-343.
Coris, E. E., Ramirez, A. M., Van, and Durme, D. J. (2004). Heat illness in athletes: The dangerous combination of heat, humidity and exercise. Journal of Sports Medicine, 34, 9-16.
Howe, A.S., and Boden, B.P. (2007). Heat-related illness in athletes. The American Journal of Sports Medicine, 35(8), 1384-1395.
Iampietro, PF. (1971). Age as a causal factor in heat stroke. Journal of the South African Instituteof mining, 72, 112-114.
McArdle, W. D., Katch,F. I., and Katch,V.L. (2006). Essential of exercise physiology:Factors affecting physiologic function: The environment and special aids to performance (3rd ed.). Baltimore,MD: Lippincott Williams & Wilkins.
Murray,B. (2007). Hydrationand physical performance. Journal of the American College of Nutrition, 26, 542S-548S.
Nadel ER, Fortney SM, and Wenger CB. (1980). Effect of hydration state on circulatory and thermal regulations. J. Appl. Physical 49: 715-721.
Somboonwong, J. (2014). Heat illness: Health concerns for school physical education. InR.Todaro(Ed.), Handbook of physical education research(pp. 473-499). Nova Science.