การพัฒนาระบบบริหารจัดการรายวิชาโครงงาน กรณีศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

ทองปาน ปริวัตร
พลวัชร์ จันทรมงคล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการรายวิชาโครงงานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้แนวคิดหลักวงจรชีวิตการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) เป็นกรอบแนวทางวิจัย กลุ่มเป้าหมายในการประเมินประสิทธิภาพได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 5 คน


ผลวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการรายวิชาโครงงานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในระดับดี โดยประสิทธิภาพด้านหน้าที่การทำงานของระบบมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ ด้านความปลอดภัยของระบบ และด้านความเป็นมิตรในการใช้งานระบบ ในภาพรวมสามารถนำระบบบริหารจัดการโครงงานไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). รวมมาตรการ 'มหาวิทยาลัยไทย' ในวิกฤติ 'โควิด-19'. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563. จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/871416

ดาวรถา วีระพันธ์. (2561). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บแอปพลิเคชั่น. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 145-154.

ทองปาน ปริวัตร, พันธวุธ จันทรมงคล, จตุรงค์ จิตติยพล, พงษ์ศักดิ์ ดรพินิจ และ อรวรรณ ปริวัตร. (2563). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการข้อมูลโคนม: กรณีศึกษา เกษตรกร ผู้เลี้ยงโคนม บ้านซำจาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(1), 131-143.

ปิยวัฒน์ ตรัสสรณวาทิน และธนะวัชร จริยะภูมิ. (2561). การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารจัดการสหกิจศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 3(2), 54-61.

พรสวรรค์ ชัยมีแรง. (2564). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(2), 68-82.

มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

วศิน เพิ่มทรัพย์, ปัทมาภรณ์ พิมพ์หานาม, วิโรจน์ ชัยมูล, สุพรรษา ยวงทอง และภาสกร พาเจริญ. (2561). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น.

วัยวุฒิ บุญลอย, ธีรังกูร วรบำรุงกุล, มนตรี วิชัยวงษ์ และเริงวิชญ์ นิลโคตร. (2564). โควิด-19 กับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาและสังคม. วารสารศึกษาสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 44-57.

สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค New Normal Covid-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(40), 33-42.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2544). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

อิทธิชัย อินลุเพท, ธนานนท์ กลิ่นแก้ว และนิตยา แก้วสุวรรณ. (2564). การพัฒนาระบบบริหารจัดการ โครงการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 8(1), 128-140.

BBC News ไทย. (2564ก). ไวรัสโคโรนา : อนามัยโลกประกาศให้โควิด-19 เป็น “การระบาดใหญ่” ทั่วโลก. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563. จาก https://www.bbc.com/thai/international-51838536

BBC News ไทย. (2564ข). ไวรัสโคโรนา : ที่มา อาการ การรักษา และการป้องกันโรคโควิด-19. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2564. จาก https://www.bbc.com/thai/features-51734255

Marketingoops. (2563). ‘COVID-19’ ปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก! ใช้เทคโนโลยีเรียนรูปแบบใหม่ – ‘มหาวิทยาลัยไทย’ สอนผ่านออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563. จาก https://www.marketingoops.com/exclusive/business-case/covid-19-reinvent-global-education-system-with-educational-technology