รูปแบบการดำรงชีวิตของพระภิกษุนิกายเถรวาท
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการดำรงชีวิตของพระภิกษุนิกายเถรวาท ตั้งแต่อดีตในสมัยพุทธกาลจนถึงปัจจุบัน พบว่า การดำเนินชีวิตของพระภิกษุได้มีการประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย เรียกว่า "ธรรมวินัย" หรือ "พุทธพจน์" ซึ่งต่อมาเรียกว่า "พระไตรปิฎก" พระธรรมวินัยนี้ คือตัวแทนพระศาสดา โดยวิถีการดำเนินชีวิตของพระภิกษุ มีลักษณะของพฤติกรรมต่าง ๆ จะเป็นตัวบ่งบอกถึงความเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา เช่น การแต่งกายที่มีไตรครอง ได้แก่ อัฐบริขาร คือ เครื่องใช้สอยของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา มี 8 อย่าง คือ สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกนหรือมีดตัดเล็บ เข็ม ประคดเอว กระบอกกรองน้ำ พร้อมทั้งปัจจัยเครื่องดำรงชีวิตของพระสงฆ์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรคที่ต้องอาศัยศรัทธาจากชาวบ้าน ซึ่งพระสงฆ์จะต้องประพฤติตนให้น่าเคารพตามหลักพระธรรมวินัย โดยปัจจุบันการดำรงชีวิตของพระสงฆ์ไทยนิกายเถรวาท มีความสัมพันธ์กับผู้คนอื่นบนพื้นฐานบริบทของวิถีวัฒนธรรมสังคมนั้น ๆ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2551). ประวัติกรมการศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
นภัทร ภักดีสรวิชญ์, ภาคิน เจริญนนทสิทธิ์ และ วรรณวรางค์ ศุทธชัย. (2564). การมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐกับภาคประชาชนในการพัฒนาการบริการสาธารณะด้านบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(3), 371-383.
พระครูวรดิตถ์ธรรมาภรณ์, พระโสภณพัฒนบัณฑิต, พระครูสุธีคัมภีรญาณ และ พระมหาสารอง สญฺญโต. (2563). แนวทางการปรับตัวการบริโภคปัจจัย 4 ของพระสงฆ์เขตอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วารสาร Journal of Modern Learning Development, 5(6), 199-213.
พระครูอาทรวนกิจ (อนาลโย ฉันทสิริกุล). (2557). การศึกพัฒนาการใช้สอยผ้าจีวรของพระสงฆ์. (สารนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
พระธรรมดิลก (สมาน สุเมโธ). (2552). ความรู้เกี่ยวกับกฐินทาน. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
พระมหาบุญเลิศ ฐานทินฺโน, พระมหาคณาพิพัฒน์ ทีปาสโย, พระปลัดประสาร ฐิตธมโม, พระมหาวีรพงศ์ วีรวโส, พระคึกฤทธิ์ โสตถิผโล, พระเฮ็นนิ่ง เกวลี และ พระมหาดนัย ปภสสโร. (2552). อริยวินัย (รวบรวมจากพระไตรปิฎก). กรุงเทพฯ: บริษัทคิว พริ้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด.
มลิวรรณ ธรรมมาตย์. (2561). การวางแผนเป้าหมายชีวิต. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2564 จาก https://sites.google.com/site/karpenphuprakxbkar12/kar-wangphaen-pea-hmay-chiwit.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2564). รูปแบบการดำเนินชีวิต. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2564. จาก https://th.wikipedia.org/wiki/รูปแบบการดำเนินชีวิต.
สุรพล สุยะพรหม. (2549). “พระสงฆ์กับการศึกษาการเมืองการปกครอง”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 2(1), 121-126.
เสถียร โพธินันทะ. (2516). ชุมนุมพระสูตรมหายาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บรรณาคาร.
Antonides, G., and Raaij, W. F. (1998). Consumer behavuiur. A European perspective. Chichester: John Wiley & Sons.
Evans, M., Jamal, A. and Foxall, G. (2009). Customer behavior (2nd ed). Chichester: JohnWinley & Sons.
Hawkins, D. I. and Mothersbaugh, D. L. (2013). Customer behavior: building marketing strategy (12th ed). New York: McGraw-Hill Irwin.
Hoyer, W. D. and MacInnin, D., J. (2010). Customer behavior (5th ed). Manson, Ohio: South-Western Cengage Learning.
Plummer, J. T. (1974). The concept and application of lifestyle segmentation. Journal of Marketing, 38, 33-37.
Schiffman, L. G. and Wisenblit, J. (2015). Customer behavior: Motivation research (Marketing). New York: Pearson.
Solomon, M. R. (2015). Customer behavior: Market survey (11th ed). Boston: Pearson.