ผลของความผูกพันที่มีต่อประสิทธิผลขององค์การ: กรณีศึกษาพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ความผูกพันที่มีต่อประสิทธิผลขององค์การ

ผู้แต่ง

  • นางสาวสมฤทัย คมสัน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ความผูกพันต่อองค์การ, ประสิทธิผลขององค์การ, พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลขององค์การ (สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 3) เพื่อศึกษาผลและการทำนายของความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับประสิทธิผลขององค์การ (สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 256 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณแบบมีขั้นตอน โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01

ผลการวิจัยพบว่า ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกิดขึ้นในระดับมาก และประสิทธิผลของสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เกิดขึ้นในระดับมากเช่นเดียวกัน โดยความผูกพันต่อองค์การด้านความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะคงความเป็นสมาชิกขององค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มีผลต่อประสิทธิผลขององค์การ (สังกัดสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

References

References

Allen, N.J. & Meyer, J.P. (1990). The measurement and antecedents of affective,
Continuance and normative commitment to the organization. Journal of Occupational Psychology, 22(5), 11-23.

Angle. H. L., & Perry, J. L. (2011). An empirical assessment of organizational
Commitment and organizational effectiveness. Administrative Science Quarterly. 28, 1-4.

Campbell, J. P. (1977). New Perspective on Organizational Effectiveness. San Francisco:
Jossey-Bass.

Cherrington, J. D. (1994). organization behavior the management of individual and
Organization performance. Massachusetts: Allyn and Bacon.

Kasetsart University. (2017). Public Administration integrity and transparency policy for Executive of Kasetsart University. Bangkok: Personnel Division of Kasetsart University. [in Thai}


Harter, J. K., Schmidt, F. L., & Hayes, T. L. (2002). Business-unit-level relationship Between
employee satisfaction, employee engagement, and business outcomes: A meta-analysis. Journal of Applied Psychology. 87(2), 268-279.

Hodge and Anthony. (2013). Employee engagement in the organization of the United States Of America. Governance: An International Journal of Policy. Administration and Institutions, 1(6), 111 - 129.

Karsan, R., & Kruse, K. (2011). We: How to increase performance and profits through Full engagement. Hoboken: John Wile & Son.

Personnel Division. (2019). Manpower Plan. Bangkok: Personnel Division of Kasetsart University. [in Thai}

Northcraft, G. B. & Neale, M. A. (1990). Organizational Behavior. Chicago: The Dryden Press.

Saks, A. M. (2006). Antecedents and consequences of employee engagement. Journal of
Managerial Psychology. 21(7), 600-619.

Schaufeli, W. B., & Bakker, A. B. (2004) Job demands, job resources, and their
Relationship with burnout and engagement: A multi-sample study. Journal of Organizational Behavior. 25(3), 293-315.

Schermerhorn, John R. Hunt. and Osborn, Richard. N. (2003). Organizational Behavior.
8th ed. USA: John Wiley and Sons.

Stone, A. (2011). Job satisfaction as an antecedent to employee engagement.
journal of management. 8(2), 17-36.

Steers, M. R. (1977). Organization Effectiveness: A Behavioral View. California: Goodyear.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-15