การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่าน การจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการ : กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้แต่ง

  • สุธิดา ทองคำ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • วรรณา วัฒนา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • ชนิดา ศรีสาคร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • อรุณี แก้วบริสุทธิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน, ค่ายวิชาการแบบบูรณาการ, ความสามารถในการจัดเรียนรู้

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการ และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของใช้หลักสูตรที่เกิดกับครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ ประกอบด้วย ครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน 7 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบจำนวน 10 ข้อ แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครู และแบบสำรวจความพึงพอใจของครูต่อการเข้าร่วมกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและ t – test แบบ dependent

ผลการวิจัยพบว่า

1. หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการ ฯ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) ขั้นตอนการดำเนินงาน 4) การวัดและประเมิน และ 5) ปัจจัยเงื่อนไขความสำเร็จ
2. ครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานและการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการหลังร่วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม ครูมีความสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผ่านการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้และสามารถพัฒนาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ PBL 6 Steps ได้และมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับมากที่สุด

References

Asawapalangkul, S. and M. Surimuang. (2020). Effectiveness of Coaching on Practice Guidelines for Preventing Ventilator Pneumonia And clinical results. Ramathibodi Nursing Journal, 26(2): 138 - 154. [in Thai].

Chailungkarn, D. (2015). Guidelines for school curriculum management in line with 21st-century education: a case study at Ban Pong Nam Ron School Under the Office of Chiang Rai Primary Educational Service Area 1. Graduate School Journal, 18(8): 107 - 114. [in Thai].

Clutterbuck, D. and D. Megginson’s Natalie Lancer. (2016). Techniques for coaching and mentoring. New York: Routledge Taylor and Francis Group.

Dachekup, P., Meesri, R. and P. Yindee. (2013). Teaching thinking with an integrated teaching and learning project. 21st-century skills. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai].

Dufour, R. and R. E. Richard Dufour. (2008). Revisiting Professional learning communities at work New insight for improving schools. Bloomington: Solution Tree Press.

Kammanee, T. (2020). Pedagogical Science: Knowledge for the effective learning process. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai].

Katesing, W. (1995). Statistics used in research. Research Division. Bangkok: Office of the National Education Commission. [in Thai].

Keawkam, T. and J. Sangphan. (2019). A reflection on teacher classes in professional learning communities that use innovative classroom education and open methods. Silpakorn University Journal, 187-198. [in Thai].

Kunarak, K. (1979). Integrated teaching. Bangkok: Prachasuksa. [in Thai]

Maneekul, J., Mungkung, C. and S. Hongsawan. (2019). History project-based learning management to promote the analytical thinking skills of a secondary school student. Journal of Graduate MCU Khonkaen campus, 6(4): 503 - 516. [in Thai].

Passadorn, A., Samawattana ,K. and S. Songsanit. (2018). The Development of Web-Based Instruction Focuses on Project-Based Learning to Promote Analytical Thinking Skill on Database Management System Subject for Higher Vocational Students. Journal of Education Maha sarakham University, 12(2): 345 - 352. [in Thai].

Patphol, M. (2019). Curriculum development principles. Bangkok: Center for Innovation, Curriculum and Learning Leadership. [in Thai].

Pongsak, A. and C. Sithsungneon. (2020). Peer Coaching promotes the learning management competency of thai language teachers based on an active learning approach to developing the reading comprehension skills of primary students. Silpakorn Education Research Journal, 12(2): 272 - 288. [in Thai].

Rungruang, W. and C. Suttirat. (2021). A model for the development of teachers using lesson study through a professional learning community enhances the art of teaching for teachers. Journal of Education Naresuan University, 23(1): 264 - 282. [in Thai].

Sally Baricaua Gutierez. (2015). Teachers’ Reflective Practice in Lesson Study: A Tool for Improving Instructional Practice. Alberta Journal of Educational Research, 61(3): 314 - 328.

Sattayatham, P. (1980). Integration for teaching and life. Bangkok: Mitrkru. [in Thai].

Surachote, C., Thongsorn P. and S. Singlop. (2020). Curriculum Development on Learning management for the 21st century using Professional learning communities approach (PLC). Mahachula academic journal, 7(2): 272 - 285. [in Thai].

Tyler, R.W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: The University of Chicago Press.

W. Edwards Deming. (1986). Out of The Crisis. Cambridge: The Massachusetts Institute of Technology, Center for Advanced Engineering Study.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-30