กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนรายวิชากีฬาและนันทนาการสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
คำสำคัญ:
กระบวนการมีส่วนร่วม, พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน, กีฬาและนันทนาการบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การศึกษาวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนสายก่อนและหลังการใช้กระบวนการมีส่วนร่วม 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน รายวิชากีฬาและนันทนาการของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนสายของนักศึกษาก่อนและหลังใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน รายวิชากีฬาและนันทนาการ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ประชากรคือนักศึกษาที่เรียน รายวิชากีฬาและนันทนาการภาคเรียนที่ 2 จำนวน 30 คน สุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ ตารางบันทึกการเข้าชั้นเรียน แผนการสอนรายวิชากีฬาและนันทนาการ ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.85 แบบประเมินการมีส่วนร่วมใน ชั้นเรียน ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.80 วิเคราะห์พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนสายของนักศึกษาโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์การมีส่วนร่วมด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบพฤติกรรม การเข้าสายของนักศึกษาก่อนและหลังใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนด้วยค่า t-test
ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนสายของนักศึกษาจำนวนก่อนใช้กระบวนการมีส่วนร่วม พบว่า นักศึกษาเข้าชั้นเรียนสายเฉลี่ยสัปดาห์ละ 5 คนและก่อนใช้กระบวนการมีส่วนร่วมพบว่านักศึกษาเข้าชั้นเรียนสายเฉลี่ยสัปดาห์ละ 1 คน โดยรวมนักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียนในระดับดีมาก ( = 3.70, S.D = .563) และหลังใช้กระบวนการมีส่วนร่วมนักศึกษาเข้าชั้นเรียนสายน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
References
Adegunju, K. A., Ola-Alani, E. K., & Agubossi, L. A. (2019). Factors Responsible for Students’ Lateness to School as Expressed by Nigerian Teachers in Elementary Schools. Mimbar Sekolah Dasar, 6(2). 185-197.
Chitralada Technology Institute. (2021). Student Guidelines. Chitralada Technology Institute. (Copy). [in Thai]
Fongtong, P. (2017). The study adjusts the behavior late in mathematics of vocational students 1/5 in Marketing Department of. Attawit Commercial Technology College. [in Thai]
Gentle-Genitty, C., Taylor, J. and Renguett, C. (2020). A Change in the Frame: From Absenteeism to Attendance. Frontiers in Education, 4 (161). 1-6.
Kemmis, S., & McTaggart, R. (1992). The Action Research Planner (3rd ed.). Deakin University Press.
Lewin, K. (1948). Field Theory and Leaning Ind. Cartwright Field theory in Social Science :Selected Theoretical. Harper and Row.
Iadyot, P. (2018). Late affects to learning achievement of Vocational level students in Mechanics 1st year. http://www.spc.ac.th/spc/Planning_and_cooperation_department/ Research_development_innovation_and_invention/1_2561/16.1_2561.pdf. [in Thai]
National Education Act B.E.1999. (1999,14th August). Thai government gazette. Volume no. 116. Unit 74 (2-7). [in Thai]
Office of General Education, Chitralada Technology Institute. (2021). Student Guidelines. Chitralada Technology Institute. (Copy). [in Thai]
Onthanee, A. (2019). The Effectiveness of Participatory Learning to Promote Occupational Competency for Secondary School Students. Journal of Education Naresuan University, 23(2). 340-355. [in Thai]
Pakisai, P. (2017). Adjusting the behavior late in the selling course of Vocational students at the 1st year. Attawit Commercial Technology College. [in Thai]
Warne, M., Svensson, A., Tirén, L., and Wall, E. (2020). On Time: A Qualitative Study of Swedish Students’,Parents’ and Teachers’ Views on School Attendance, with a Focus on Tardiness. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(1430). 1-18.
Wongwanich, S. (2004). Classroom action research. Chulalongkorn University. [in Thai]
Wongchalee, S., Vichan, P., Karakoon, A., and Chantaboon, P. (2017). Study student of behavior Business Computer program, faculty of Business Administration and Accountancy, Pathumthani University. Pathumthani University Academic Journal. 9(1). 38-53. [in Thai]
Simba, N. O., Agak, J. O. and Kabuka, E. K. (2016). Impact of Discipline on Academic Performance of Pupils in Public Primary Schools in Muhoroni Sub-County, Kenya. Journal of Education and Practice. 7(6). 164-173.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ (Kasetsart Educational Review)