การฝึกอบรมครูตามหลักพุทธธรรม

Main Article Content

เกรียงไกร ปัญญาประเสริฐกุล
จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์
พระครูพิสัยสารคุณ
อินตอง ชัยประโคม

บทคัดย่อ

          การฝึกอบรมครูตามหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาครูในการนำหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวข้องมาบูรณาการในการพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู รวมทั้งยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ในปัจจุบันสังคมพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ส่งผลให้สภาพแวดล้อมเจริญไปด้วยวัตถุ ครูและบุคลากรทางการศึกษาจึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและพัฒนาให้มีคุณภาพมาตรฐาน เหมาะสมกับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ซึ่งการจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมครูประจำการและบุคลากรทางการศึกษาโดยนำหลักพุทธธรรมนำสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย อริยมรรค 8 พรหมวิหาร 4 ฆราวาสธรรม 4 สังคหวัตถุ 4
อิทธิบาท 4 เบญจศีลหรือศีล 5 จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากครูเป็นครูมืออาชีพ สมบูรณ์ด้วยวิชาและจรรยาสมกับวิชาชีพครู

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

จงกลนี ชุติมาเทวินทร์. (2558). การฝึกอบรมเชิงพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เฉลิมศักดิ์ นามเชียงใต้. (2561). การพัฒนากำลังคนเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(3), 5-8.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2550). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดนัย เทียนพุฒ. (2540). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เรื่อง การวางแผนอาชีพ และแผนสืบทอดตำแหน่ง. กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการงานบุคคล สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย.

นิรชรา ทองธรรมชาติ. (2554). กลยุทธ์การฝึกอบรมและวิทยากรในยุคโลกาภิวัฒน์. กรุงเทพฯ: ลินคอร์น โปรโมชั่น จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พุทธธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ.พี.กราฟิคดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด.

พัชนี กุลฑานันท์ และคณะ. (2554). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมครูแบบผสมผสานในการทำวิจัยในชั้นเรียน.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(2), 97-115.

ไพศาล ไกรสิทธิ์. (2551). การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). ราชบุรี: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.

สมคิด บางโม. (2544). หลักการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2556). แผนปฏิบัติการหลักของการปฏิรูปฝึกหัดครูพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จํากัด.

อลิศรา ชูชาติ, นวรัตน์ สุวรรณผ่อง, และ วิไลวรรณ โกยแก้วพริ้ง. (2558). เทคนิคการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จำกัด.

อาทิตย์ โพธิ์ศรีทอง, รจนา คลี่ฉายา และ ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2554). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ทางด้านดนตรีในศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษา มศว., 10 (6), 37-48.

Goldstein, I. L. (1993). Training in organizations: Need assessment development and evaluation (3rd ed.). Pacific Grove, CA: Brooks/ Cole.

Nadler, L. and Nadler, Z. (1990). The handbook of human resource development (2nded.). Toronto: John Wiley & Sons.